UTC+07:00
หน้าตา
เมอริเดียน | |
---|---|
กลาง | เส้นเมริเดียนที่ 15 องศาตะวันออก |
ขอบด้านตะวันตก (ทะเล) | 97.5 องศาตะวันออก |
ขอบด้านตะวันออก (ทะเล) | 112.5 องศาตะวันออก |
อื่น ๆ | |
หมู่วันเวลา (DTG) | G (Golf) |
แหล่งข้อมูลอื่น |
UTC№7+07:00 เป็นตัวบ่งบอกความเฉของเวลาเพิ่มจากเวลาสากลเชิงพิกัด +07:00 และรู้จักในชื่อ เวลาอินโดจีน (ICT) ในมาตรฐาน ISO 8601 เวลาในเขตเวลานี้จะเขียนว่า 2024-11-12T21:03:16+07:00
UTC+07:00 จะเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด (UTC) 7 ชั่วโมง จึงหมายความ 7 โมงเช้า (07:00 น.) ของเขตเวลานี้จะเท่ากับเที่ยงคืน (00:00 น.) ของเวลาสากลเชิงพิกัด
เป็นเวลามาตรฐาน (ตลอดทั้งปี)
เมืองที่สำคัญ จาการ์ตา, ฮานอย, นครโฮจิมินห์, กรุงเทพมหานคร, เชียงใหม่, เวียงจันทน์, พนมเปญ และ ครัสโนยาสค์
เอเชียเหนือ
เอเชียตะวันออก
- มองโกเลีย – เวลาในมองโกเลีย
- ทางตะวันตกสุด ได้แก่เมือง ฮอฟด์, อุฟส์ และ บายัน-เอิลกี[3]
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ออสเตรเลีย – เวลาเกาะคริสต์มาส
- กัมพูชา – เวลามาตรฐานกัมพูชา (เวลาอินโดจีน)
- อินโดนีเซีย – เวลาอินโดนีเซียตะวันตก[4][5]
- ลาว – เวลามาตรฐานลาว (เวลาอินโดจีน)
- ไทย – เวลามาตรฐานไทย (เวลาอินโดจีน)
- เวียดนาม - เวลามาตรฐานเวียดนาม (เวลาอินโดจีน)
อ้างอิง
- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 "Russia Time Zones – Russia Current Times". TimeTemperature.com. สืบค้นเมื่อ 20 November 2016.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 "Russia Time Zone Map". WorldTimeZone.com. สืบค้นเมื่อ 22 March 2018.
- ↑ "HOVT – Hovd Time". Asian time zones. Time and Date. สืบค้นเมื่อ 14 July 2012.
- ↑ "Indonesia Time Zones – Indonesia Current Time". TimeTemperature.com. สืบค้นเมื่อ 27 October 2012.
- ↑ Gwlliam Law. "Provinces of Indonesia". Statoids. สืบค้นเมื่อ 27 October 2012.