พ.ศ. 2414
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1871)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2414 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1871 MDCCCLXXI |
Ab urbe condita | 2624 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1320 ԹՎ ՌՅԻ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6621 |
ปฏิทินบาไฮ | 27–28 |
ปฏิทินเบงกอล | 1278 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2821 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 34 Vict. 1 – 35 Vict. 1 |
พุทธศักราช | 2415 |
ปฏิทินพม่า | 1233 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7379–7380 |
ปฏิทินจีน | 庚午年 (มะเมียธาตุโลหะ) 4567 หรือ 4507 — ถึง — 辛未年 (มะแมธาตุโลหะ) 4568 หรือ 4508 |
ปฏิทินคอปติก | 1587–1588 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3037 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1863–1864 |
ปฏิทินฮีบรู | 5631–5632 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1927–1928 |
- ศกสมวัต | 1793–1794 |
- กลียุค | 4972–4973 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11871 |
ปฏิทินอิกโบ | 871–872 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1249–1250 |
ปฏิทินอิสลาม | 1287–1288 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเมจิ 4 (明治4年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 12 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4204 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 41 ก่อน ROC 民前41年 |
พุทธศักราช 2414 ตรงกับ
- 21 มีนาคม ค.ศ. 1871 - 9 มีนาคม ค.ศ. 1872 (นับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 เป็นวันขึ้นปีใหม่)
- ค.ศ. 1871 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน
- ค.ศ. 1872 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน
- ปีมะแม ตรีศก จุลศักราช 1233 (วันที่ 14 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
- มหาศักราช 1793
- รัตนโกสินทรศก 90
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)
- เจ้าประเทศราช:
- เจ้าผู้ครองนครลำพูน: เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ
- เจ้าผู้ครองนครลำปาง: เจ้าวรญาณรังษี
- เจ้าผู้ครองนครน่าน: เจ้าอนันตวรฤทธิเดช
- เจ้าผู้ครองนครแพร่: พระยาพิมพิสารราชา
- เจ้าประเทศราช:
เหตุการณ์
[แก้]- 26 มีนาคม - ฝรั่งเศสก่อตั้งหน่วยการปกครองท้องถิ่นปารีส
- 10 พฤษภาคม - ฝรั่งเศสยอมจำนนในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย
- 28 มิถุนายน - สุริยุปราคาวงแหวน (ตะวันออกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย เกาะนิวกินี และตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก)[1]
- 2 กรกฎาคม - จันทรุปราคาบางส่วน[2] (มองเห็นได้ในสยาม)
- 8 ตุลาคม - เกิดอัคคีภัยครั้งใหญ่ตามฝั่งทะเลสาบมิชิแกน ทำให้มีผู้ไร้ที่อยู่อาศัยเกือบ 100,000 คน
- 12 ธันวาคม - สุริยุปราคาเต็มดวง (ประเทศอินเดีย มหาสมุทรอินเดีย ตอนเหนือของออสเตรเลีย และตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก)[1]
- 1 มีนาคม (ค.ศ. 1872) - ก่อตั้งอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน (Yellowstone National Park) ในสหรัฐอเมริกา เป็นอุทยานแห่งชาติที่แรกของโลก
ไม่ทราบวัน
[แก้]- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสประเทศอินเดีย โดยแวะที่สิงคโปร์ ปีนัง ย่างกุ้ง และกัลกัตตา
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงเรียนหลวงแห่งแรกขึ้นในพระบรมมหาราชวัง คือโรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก ต่อมาได้ย้ายไปยังพระตำหนักสวนกุหลาบ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ
- เริ่มการก่อสร้าง วัดมังกรกมลาวาส ใช้เวลาก่อสร้างประมาณ 8 ปี จึงเสร็จสมบูรณ์
วันเกิด
[แก้]- 6 กรกฎาคม - พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัททาวดีศรีราชธิดา (สิ้นพระชนม์ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2442)
- 17 กรกฎาคม - ไลโอเนล ไฟนิงเกอร์ จิตรกรชาวอเมริกัน-เยอรมัน (ถึงแก่กรรม 13 มกราคม พ.ศ. 2499)
- 19 สิงหาคม - ออวิลล์ ไรต์ นักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 30 มกราคม พ.ศ. 2491)
- 30 สิงหาคม - เออร์เนสต์ รูเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวนิวซีแลนด์ (ถึงแก่กรรม 19 ตุลาคม พ.ศ. 2480)
- 25 กันยายน - พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา (สิ้นพระชนม์ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2470)
- 23 ตุลาคม - พระยาอนุศาสน์จิตรกร จิตกรและช่างภาพประจำราชสำนัก (ถึงแก่อสัญกรรม 10 ตุลาคม พ.ศ. 2492)
- 1 พฤศจิกายน - สตีเฟน เครน นักเขียนชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 5 มิถุนายน พ.ศ. 2443)
- 3 พฤศจิกายน - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ (สิ้นพระชนม์ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482)
- 25 พฤศจิกายน - พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธิดาจำรัสแสงศรี (สิ้นพระชนม์ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2440)
- 17 ธันวาคม - พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายรัศมีหิรัญพรรณ (สิ้นพระชนม์ 9 เมษายน พ.ศ. 2471)
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 11 พฤษภาคม - จอห์น เฮอร์เชล นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ (เกิด 7 มีนาคม พ.ศ. 2334)
- 18 ตุลาคม - ชาลส์ แบบเบจ นักคณิตศาสตร์และนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษ (เกิด 26 ธันวาคม พ.ศ. 2334)
- เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ
อ้างอิง
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ พ.ศ. 2414
- ↑ 1.0 1.1 Solar Eclipses: 1801 to 1900 เก็บถาวร 2008-02-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Fred Espenak/Jean Meeus, NASA/GSFC (อังกฤษ)
- ↑ Lunar Eclipses: 1801 to 1900 เก็บถาวร 2008-02-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Fred Espenak/Jean Meeus, NASA/GSFC (อังกฤษ)