พ.ศ. 2499
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1956)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2499 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1956 MCMLVI |
Ab urbe condita | 2709 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1405 ԹՎ ՌՆԵ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6706 |
ปฏิทินบาไฮ | 112–113 |
ปฏิทินเบงกอล | 1363 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2906 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 4 Eliz. 2 – 5 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2500 |
ปฏิทินพม่า | 1318 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7464–7465 |
ปฏิทินจีน | 乙未年 (มะแมธาตุไม้) 4652 หรือ 4592 — ถึง — 丙申年 (วอกธาตุไฟ) 4653 หรือ 4593 |
ปฏิทินคอปติก | 1672–1673 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3122 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1948–1949 |
ปฏิทินฮีบรู | 5716–5717 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2012–2013 |
- ศกสมวัต | 1878–1879 |
- กลียุค | 5057–5058 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11956 |
ปฏิทินอิกโบ | 956–957 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1334–1335 |
ปฏิทินอิสลาม | 1375–1376 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 31 (昭和31年) |
ปฏิทินจูเช | 45 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4289 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 45 民國45年 |
พุทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีวอก อัฐศก จุลศักราช 1318 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พ.ศ. 2489 -พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี:จอมพลป. พิบูลสงคราม (8 เมษายน พ.ศ. 2491 – 16 กันยายน พ.ศ. 2500)
เหตุการณ์
[แก้]- 1 มกราคม - ซูดานประกาศเอกราช
- 26 มกราคม - สหราชอาณาจักรประกาศห้ามเฮโรอีน
- 15 กุมภาพันธ์ - ทีมฟุตบอลทีมชาติอุรุกวัยชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 24 ณ ประเทศอุรุกวัย
- 2 มีนาคม - โมร็อกโกประกาศเอกราชจากฝรั่งเศส
- 20 มีนาคม - ประเทศตูนีเซียประกาศอิสรภาพจากฝรั่งเศส
- 8 สิงหาคม - เกิดระเบิดและไฟไหม้ในเหมืองแร่ของเบลเยียม คนงานเสียชีวิต 263 คน
- 12 สิงหาคม - พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 2 รอบ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
- 15 กันยายน - ทีมฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้ชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชีย ครั้งที่ 1 ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง
- 1 ตุลาคม - เริ่มมีคำขวัญวันเด็กในประเทศไทยครั้งแรก
- 23 ตุลาคม - การปฏิวัติฮังการีเกิดการจลาจลประท้วงเริ่มต้นขึ้นจากการประท้วงของนักเรียนนักศึกษาทั่วประเทศเพื่อต่อต้านรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนฮังการีและนโยบายที่กำหนดโดยสหภาพโซเวียต
- 2 ธันวาคม - ฟิเดล คาสโตร และผู้ติดตามขึ้นฝั่งที่คิวบา
- 12 ธันวาคม - ประเทศญี่ปุ่นเข้าร่วมสหประชาชาติ
เหตุการณ์ที่ไม่ทราบวันที่
[แก้]- ไอบีเอ็ม ผลิตและวางจำหน่ายฮาร์ดดิสก์ ตัวแรกของโลก ความจุ 5 MB
- โรคมินะมะตะ ระบาดในประเทศจีน
- เอสวีที เริ่มออกอากาศเป็นครั้งแรก
- วัดราชบูรณะคนร้ายลักลอบขุดกรุวัดราชบูรณะใต้พระปรางค์องค์ใหญ่ ที่สร้างโดยเจ้าสามพระยา ได้ทรัพย์สมบัติไปมหาศาล ทางการตามคืนกลับมาได้เพียงแค่30%จากทั้งหมด
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 1 มกราคม
- คริสตีน ลาการ์ด นักการเมืองฝรั่งเศส
- จาตุรนต์ ฉายแสง อดีตรองนายกรัฐมนตรี
- เซร์ฆิโอ บิกตอร์ ปัลมา นักมวยสากลชาวอาร์เจนตินา
- สุวิทย์ ทองประเสริฐ อดีตพระภิกษุชาวไทย
- สง่า ธนสงวนวงศ์ อดีตนักการเมืองไทย
- สิทธิพร ขำอาจ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร
- 3 มกราคม
- พิชิต อัคราทิตย์ อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- เมล กิบสัน นักแสดงและผู้กำกับชาวออสเตรเลีย
- สาธิต พิธรัตน์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 3
- 4 มกราคม - นิพนธ์ เสงี่ยมศักดิ์ (นิค ขายหัวเราะ) นักเขียนการ์ตูนล้อเลียน
- 5 มกราคม
- เช็ง เค็นอิจิ นักประกอบอาหารชาวญี่ปุ่น
- ฟรังค์-วัลเทอร์ ชไตน์ไมเออร์ ประธานาธิบดีเยอรมนี
- 6 มกราคม - เอลิซาเบธ เสตราท์ นักเขียนชาวอเมริกัน
- 9 มกราคม - สัญญา พรนารายณ์ นักร้องชาวไทย
- 11 มกราคม - ทศพล สังขทรัพย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย
- 12 มกราคม - นิโคไล นอสคอฟ นักร้องเสียงแบริโทน
- 15 มกราคม - มายาวตี นักการเมืองอินเดีย
- 17 มกราคม - พอล ยัง บทความเกี่ยวกับ ดารา ที่ยังไม่สมบูรณ์
- 27 มกราคม - ชอน โอคีฟ ชาวอเมริกันเชื้อสายไอริช
- 28 มกราคม - อุลริช เกอเบาเออร์ นักแสดงชายชาวเยอรมัน
- 31 มกราคม
- คีโด ฟัน โรสซึม โปรแกรมเมอร์ชาวดัตช์
- จอห์น ไลดอน นักร้องอังกฤษ
- อาร์ตูร์ มัส นักการเมืองสเปน
กุมภาพันธ์
[แก้]- 1 กุมภาพันธ์
- นิคม เชาว์กิตติโสภณ อดีตนักการเมืองไทย
- เอก อังสนานนท์ ตำรวจชาวไทย
- สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ นักการเมืองชาวไทย
- 2 กุมภาพันธ์ - อัดนัน ออกทาร์ ผู้นำลัทธิทางศาสนา
- 4 กุมภาพันธ์
- ประสูตร รัศมีแพทย์ อดีตรองบัญชาการทหารสูงสุดชาวไทย
- สุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ นักการเมืองไทย
- 6 กุมภาพันธ์
- มิมิ ฮะงิวะระ นักมวยปล้ำอาชีพหญิงชาวญี่ปุ่น
- 7 กุมภาพันธ์ -
- วิวรรธน์ ปฐมภาคย์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 ชาวไทย
- อับดุลอายี สาแม็ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา 1 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดยะลา
- 9 กุมภาพันธ์ - หม่อมไฉไล ยุคล ณ อยุธยา ราชสกุลยุคล
- 10 กุมภาพันธ์ - ซะอูด บิน ซักร์ อัลกอซิมี เจ้าผู้ครองรัฐราสอัลไคมาห์ (ถึงแก่กรรม 14 มิถุนายน พ.ศ. 2546)
- 12 กุมภาพันธ์ - ภาณุ อุทัยรัตน์ เลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
- 13 กุมภาพันธ์ - เจ้าหญิงอิลา บิน ฮุสเซน
- 15 กุมภาพันธ์ - มิโยะโกะ อะซะดะ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น
- 16 กุมภาพันธ์ - พระพรหมสิทธิ (ธงชัย สุขญาโณ) กรรมการมหาเถรสมาคม
- 20 กุมภาพันธ์ - สุรพร ดนัยตั้งตระกูล อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 24 กุมภาพันธ์
- ชูศักดิ์ สิริสุทธิ์ มุขนายกองค์ที่ 3 แห่งเขตมิสซังนครราชสีมา
- เสรี สุวรรณภานนท์ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ
- 25 กุมภาพันธ์ - ประวุฒิ ถาวรศิริ อดีตรักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง
- 28 กุมภาพันธ์ - กุศลหมีเทศริ์ ศรีอารวงศา นักการเมืองชาวไทย
มีนาคม
[แก้]- 1 มีนาคม
- สีหนุ่ม เชิญยิ้ม หรือ บุญธรรม ฮวดกระโทก นักแสดงตลกชาวไทย (ถึงแก่กรรม 1 ธันวาคม พ.ศ. 2558)
- ดาเลีย กรีบาวสเคท อดีตประธานาธิบดีลิทัวเนีย
- 9 มีนาคม - สมหมาย เกาฏีระ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดชาวไทย
- 11 มีนาคม - ดัชเชสโดนาทาแห่งเมคเลินบวร์ค
- 12 มีนาคม
- นิสิต สินธุไพร นักการเมืองไทย
- โยสท์ กิพเพิร์ท ชาวเยอรมัน
- 13 มีนาคม
- ประดิษฐ์ ปัญจวีณิน แพทย์ชาวไทย
- วงศ์เมือง นันทขว้าง นักโทษชาวไทย (ถึงแก่กรรม 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2517)
- 14 มีนาคม
- 15 มีนาคม - จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 17 มีนาคม - สรอรรถ กลิ่นประทุม อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 18 มีนาคม - ฆวน เมซา แชมป์โลกมวยสากลชาวเม็กซิโก
- 21 มีนาคม - ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู นักการเมืองสตรีชาวไทย
- 22 มีนาคม - แกรนด์ดัชเชสมาเรีย เตเรซาแห่งลักเซมเบิร์ก แกรนด์ดัชเชสแห่งประเทศลักเซมเบิร์ก
- 23 มีนาคม
- วินทร์ เลียววาริณ นักเขียนรางวัลซีไรต์
- อังคณา นีละไพจิตร อดีตกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- 24 มีนาคม
- กาบริเอล เบร์นัล แชมป์โลกมวยสากลชาวเม็กซิโก (ถึงแก่กรรม 12 มิถุนายน พ.ศ. 2557)
- เค็ง ยามางูจิ นักพากย์ชาวญี่ปุ่น (ถึงแก่กรรม 24 ตุลาคม พ.ศ. 2554)
- สตีฟ แอ็บบอท นักแสดงตลกชาวออสเตรเลีย
- 28 มีนาคม
- กรพจน์ อัศวินวิจิตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
- วิเชียร ขาวขำ นักการเมืองไทย
- 29 มีนาคม - ยิ่งศักดิ์ จงเลิศเจษฎาวงศ์ พ่อครัว , นักวิชาการ และพิธีกรชาวไทย
- 31 มีนาคม - ธราวุธ นพจินดา อดีตผู้ประกาศข่าว (ถึงแก่กรรม 19 มิถุนายน พ.ศ. 2555)
เมษายน
[แก้]- 1 เมษายน - จรูญ ธรรมศิลป์ ผู้กำกับละครโทรทัศน์ชาวไทย (ถึงแก่กรรม 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558)
- 3 เมษายน - โอมาร์ มาลากอน ชาวคิวบา
- 5 เมษายน
- ไดมอนด์ ดัลลัส เพจ นักแสดงภาพยนตร์ชายชาวอเมริกัน
- ประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ อดีตแพทย์ชาวไทย
- ลินดา ค้าธัญเจริญ นักแสดงไทย
- 12 เมษายน - สุรศักดิ์ ชัยอรรถ นักแสดงชายชาวไทย
- 14 เมษายน - หวง ซิงซิ่ว นักแสดงหญิงชาวฮ่องกง
- 15 เมษายน - โฮ ค็อกโฉ นักการเมืองจากประเทศสิงคโปร์
- 22 เมษายน
- ช่อ ห้าพลัง แชมป์เงาของสภามวยโลกชาวไทย
- อัญชลี ไชยศิริ นักแสดงหญิงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2556)
- พงศ์พัฒน์ ฉายาพันธุ์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (ผบช.ก.)
- 25 เมษายน - วิทยา บุตรดีวงค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร 2 สมัย
- 26 เมษายน - คู สตาร์ก นักแสดงอเมริกัน
- 29 เมษายน - กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
พฤษภาคม
[แก้]- 1 พฤษภาคม - ตรีทศ สนแจ้ง เป็นสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
- 2 พฤษภาคม - นิยม วิวรรธนดิฐกุล นักการเมืองไทย
- 3 พฤษภาคม - คาร์โล โรเวลลี นักฟิสิกส์ชาวอิตาลี
- 5 พฤษภาคม - คุลศัน กุมาร เป็นนักธุรกิจชื่อดังของอินเดียในอดีต
- 10 พฤษภาคม - วลาดิสลาฟ ลิสต์เซฟ บุคคลที่ถูกลอบสังหาร (ถึงแก่กรรม 1 มีนาคม พ.ศ. 2538)
- 13 พฤษภาคม - เฟรด เมลาเมด นักแสดง, นักแสดงตลก, และนักเขียนชาวอเมริกัน
- 14 พฤษภาคม
- วิสาร เตชะธีราวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- สินนภา สารสาส นักแต่งเพลงชาวไทย
- เอมิลี่ เคน นักการเมืองจากสหรัฐอเมริกา
- 15 พฤษภาคม - พิเชียร อำนาจวรประเสริฐ พิธีกรไทย
- 16 พฤษภาคม - ลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 17 พฤษภาคม - ชูการ์ เรย์ เลนเนิร์ด นักมวยชาวอเมริกัน
- 19 พฤษภาคม - ชุติมา บุณยประภัศร รัฐมนตรีชาวชาวไทย
- 20 พฤษภาคม - เกอร์รี เพย์ตัน อดีตผู้รักษาประตูฟุตบอล
- 22 พฤษภาคม - ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ นักการเมืองไทย
- 26 พฤษภาคม -
- ไพฑูรย์ ธัญญา นักวิชาการชาวๆทย
- อภิชัย เตชะอุบล นักการเมือง ชาวไทย
- 27 พฤษภาคม -
- จูเซปเป ทอร์นาทอเร ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอิตาลี
- เจน นำชัยศิริ สมาชิก วุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 อดีตประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
- 29 พฤษภาคม - ลา โทยา แจ็กสัน นักแสดงอเมริกัน
มิถุนายน
[แก้]- 3 มิถุนายน - ดิลก ทองวัฒนา นักแสดงชาวไทย
- 5 มิถุนายน -
- เคนนี จี นักดนตรีแจ๊สชาวอเมริกัน
- อิบราฮิม เอบีรีกา พลทหารและนักการเมืองชาวยูกันดา (ถึงแก่กรรม 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561)
- 6 มิถุนายน - บิยอร์น บอร์ก นักเทนนิสชายชาวสวีเดน
- 11 มิถุนายน
- โจ มอนทานา นักอเมริกันฟุตบอลชาวอเมริกัน
- ประวิช รัตนเพียร ผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย
- ปาริชาติ ชาลีเครือ นักการเมืองสตรีชาวไทย
- 19 มิถุนายน - จีจีโอ อัลแบร์ติ นักแสดงชายชาวอิตาลี
- 20 มิถุนายน
- ประศาสตร์ ทองปากน้ำ อดีตนักการเมืองไทย
- ปีเตอร์ รีด นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 21 มิถุนายน - อรุณี นันทิวาส นักพากย์ชาวไทย
- 23 มิถุนายน - ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 24 มิถุนายน - ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 26 มิถุนายน - ซารอน บูท นักกีฬาว่ายน้ำชาวออสเตรเลีย
- 27 มิถุนายน - พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า อดีตอธิบดีกรมที่ดิน
- 29 มิถุนายน - เปโดร สันทนา โลปส์ นักกฎหมายและนักการเมืองชาวโปรตุเกส
- 30 มิถุนายน - อานิก อัมระนันทน์ นักธุรกิจชาวไทย
กรกฎาคม
[แก้]- 4 กรกฎาคม - นิพันธ์ ศิริธร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 1 สมัย
- 5 กรกฎาคม - โอราซิโอ การ์เตส ประธานาธิบดีปารากวัย
- 6 กรกฎาคม - เซียร์เกย์ โรโกชิน นักกีฬาขี่ม้าและแชมป์โอลิมปิกชาวโซเวียต (ถึงแก่กรรม 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2526)
- 8 กรกฎาคม
- จินดา วงศ์สวัสดิ์ อดีตนักการเมืองไทย
- ปรีชา จันทร์โอชา ปลัดกระทรวงกลาโหม
- ไพรินทร์ ชูโชติถาวร อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- สุชาติ ชัยวิชิต นักหมากรุกสากลชาวไทย
- 9 กรกฎาคม -
- ทอม แฮงส์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- ไดมอนด์ ดัลลัส เพจ นักมวยปล้ำ และ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 13 กรกฎาคม - นิรมิต สุจารี นักการเมืองชาวไทย
- 15 กรกฎาคม
- อลัน เบเคอร์ (นักการเมือง) นักการเมืองจากสหรัฐอเมริกา
- สุทิน ไชยกิตติ นักฟุตบอลชาวไทย (ถึงแก่กรรม 18 มกราคม พ.ศ. 2559)
- เอียน เคอร์ติส นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2523)
- 16 กรกฎาคม - เดบราห์ เคน นักกีฬาว่ายน้ำชาวออสเตรเลีย
- 20 กรกฎาคม
- ชาร์ลี มากรี แชมป์โลกมวยสากลชาวอังกฤษ
- เรียว อิชิบะชิ นักแสดงภาพยนตร์ชายชาวญี่ปุ่น
- 26 กรกฎาคม - แอนดี โกลด์สเวิร์ทธี ประติมากรชาวอังกฤษ
- 29 กรกฎาคม - ประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ ชาวไทยเชื้อสายจีน
- 30 กรกฎาคม - นวลปรางค์ ตรีชิต นักแสดงไทย
- 31 กรกฎาคม - เดวาล แพทริค ผู้ว่าการรัฐแมสซาชูเซตส์
สิงหาคม
[แก้]- 1 สิงหาคม - กล้วย เชิญยิ้ม หรือ ฐานุพงศ์ ศักดิ์ธนาวัฒน์ นักแสดงตลกชาวไทย
- 2 สิงหาคม - หม่อมราชวงศ์หญิงนริศรา จักรพงษ์ พระธิดาคนเดียวใน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์
- 3 สิงหาคม - เกรียงไกร อุณหะนันทน์ นักแสดงชาวไทย
- 4 สิงหาคม - สมเกียรติ ศรลัมพ์ อดีตนักการเมืองไทย
- 20 สิงหาคม
- ฐาปกรณ์ ดิษยนันทน์ นักแสดง , ผู้กำกับ และพิธีกรชาวไทย
- โรแบร์โต เรกัซซี ช่างไวโอลิน
- 23 สิงหาคม -
- 25 สิงหาคม - สุรชัย สมบัติเจริญ นักร้องเพลงลูกทุ่ง และนักแสดงชาวไทย
- 26 สิงหาคม - หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 27 สิงหาคม
- อภินันท์ โปษยานนท์ ชาวไทยเชื้อสายจีน
- สุรเดช ยะสวัสดิ์ อดีตนักการเมืองไทย
- 30 สิงหาคม - ภูสมิง หน่อสวรรค์ นักร้องไทย
- 31 สิงหาคม - ไช่ อิงเหวิน บทความที่มีข้อความภาษาจีน
กันยายน
[แก้]- 1 กันยายน - จาง เฟิงอี้ นักแสดงจีน
- 2 กันยายน
- พระราชพุทธิวรคุณ (เจเรมี ชาร์ลส์ จูเลียน ฮอร์เนอร์ อมาโร) พระภิกษุและพระอาจารย์ใน นิกายเถรวาท
- ฉลาด ขามช่วง สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ดอเรีย แร็กแลนด์ พระชนนีของเมแกน ดัชเชสแห่งซัสเซกซ์
- 7 กันยายน - ไดแอน วาร์เรน นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน
- 11 กันยายน - เอเดรียน เลน็อกซ์ นักแสดงหญิงชาวอเมริกัน
- 12 กันยายน - เลสลี จาง อดีตนักแสดงและนักร้องฮ่องกง
- 15 กันยายน - เจโรม เดลวิน นักการเมืองจากสหรัฐอเมริกา
- 16 กันยายน
- เดวิด คอปเปอร์ฟิลด์ (นักมายากล) นักมายากลชาวอเมริกัน
- มาโนช พุฒตาล นักร้องไทย
- 17 กันยายน - อัลมัซเบก อาตัมบายิฟ นักการเมืองชาวคีร์กีซ
- 22 กันยายน
- กนก ลิ้มตระกูล นักการเมืองไทย
- เดบบี บูน นักร้องอเมริกัน
- 23 กันยายน - รัฟเฟลี บัลดัสซารี นักการเมืองชาวอิตาลี
- 25 กันยายน - อาคม เติมพิทยาไพสิฐ อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 26 กันยายน - ลินดา แฮมิลตัน นักแสดงอเมริกัน
- 28 กันยายน - ธานี เทือกสุบรรณ นักการเมืองไทย
- 30 กันยายน
ตุลาคม
[แก้]- 1 ตุลาคม
- เทเรซา เมย์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร
- จีนา ฮาสเปล นักการเมืองอเมริกัน
- 3 ตุลาคม - เผ่าทอง ทองเจือ นักวิชาการชาวไทย
- 4 ตุลาคม - คริสทอฟ วัลซ์ นักแสดงชาวออสเตรีย
- 12 ตุลาคม - เจิ่น ดั่ย กวาง ประธานาธิบดีเวียดนาม
- 13 ตุลาคม - นิสดารก์ เวชยานนท์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557
- 14 ตุลาคม - กาบรีลา ฟอน ฮับส์บวร์ค อาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย
- 15 ตุลาคม
- บุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นักการเมืองไทย
- พเยาว์ พูนธรัตน์ นักมวยสากลชาวไทยรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (ถึงแก่กรรม 13 สิงหาคม พ.ศ. 2549)
- 18 ตุลาคม
- มาร์ตินา นาฟราติโลวา นักเทนนิสหญิงชาวอเมริกัน
- เคร็ก บาร์ทเล็ตต์ นักทำแอนิเมชั่นชาวอเมริกัน
- 20 ตุลาคม - แดนนี บอยล์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ
- 21 ตุลาคม - แคร์รี ฟิชเชอร์ นักแสดงและนักเขียนชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 27 ธันวาคม พ.ศ. 2559)
- 22 ตุลาคม - สมศักดิ์ นิลบรรเจิดกุล อดีตแม่ทัพภาคที่ 3
- 29 ตุลาคม -
- คะซุโยะ เซะจิมะ สถาปนิกชาวญี่ปุ่น
- วิลเฟรโด โกเมซ แชมป์โลกมวยสากลชาวเปอร์โตริโก
- 31 ตุลาคม
- ชาตอุดม ติตถะสิริ อดีตรองเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
- นที ธีระโรจนพงษ์ นักแสดงชาวไทย
พฤศจิกายน
[แก้]- 1 พฤศจิกายน - ประเสริฐ บุญชัยสุข อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 5 พฤศจิกายน - พรพิชิต พัฒนถาบุตร ชาวไทยเชื้อสายพม่า
- 11 พฤศจิกายน - เอดการ์ ลุงกู นักการเมืองชาวแซมเบีย
- 13 พฤศจิกายน - พงศ์เทพ เทพกาญจนา อดีตรองนายกรัฐมนตรีชาวไทน
- 22 พฤศจิกายน - คุณหญิงพจมาน ณ ป้อมเพชร ภริยา พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 23
- 24 พฤศจิกายน - ธนิตย์ จิตนุกูล ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย
- 28 พฤศจิกายน - โสภี พรรณราย นักเขียนชาวไทย
- 30 พฤศจิกายน - อะลี อะซาดอฟ นักการเมืองของอาเซอร์ไบ
ธันวาคม
[แก้]- 7 ธันวาคม - กิตติศักดิ์ ปรกติ นักวิชาการชาวไทย
- 8 ธันวาคม - ณะ อารีนิจ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ
- 9 ธันวาคม - ศานิตย์ มหถาวร อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล
- 14 ธันวาคม
- จุติ ไกรฤกษ์ อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- ปีเตอร์ นอร์วิก ปัญญาประดิษฐ์
- ศรีอาภา เรือนนาค นักพากย์ชาวไทย
- 18 ธันวาคม - ชินวรณ์ บุณยเกียรติ อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 19 ธันวาคม - วิยะดา โกมารกุล ณ นคร นักแสดงไทย
- 20 ธันวาคม - มุฮัมมัด อูลด์ อับดุลอะซีซ นักการเมืองชาวเมาริกัน
- 22 ธันวาคม - หลี่ เหลียงเหว่ย นักแสดงฮ่องกง
- 24 ธันวาคม
- แสงศักดา กิตติเกษม นักมวยไทยชาวไทย
- สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา พิธีกรไทย
- 27 ธันวาคม - อลงกรณ์ พลบุตร อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 28 ธันวาคม - สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด
?
[แก้]- ? - ไมเคิล ซิเบอร์รี นักแสดงละครเวทีและภาพยนตร์ชาวออสเตรเลีย
- ? - เรืองวิทย์ ดุษฎีสุรพจน์ นักการเมืองไทย
- ? - โรเบิร์ต อัมสเตอร์ดัม นักการเมืองสหรัฐอเมริกา
- ? - โรเบิร์ต อัมสเตอร์ดัม ทนายความอเมริกัน
- ? - วิวัฒน์ ผสมทรัพย์ นักแสดงไทย
- ? - สมชาย เทียมบุญประเสริฐ ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- ? - อภิชาติ ชูสกุล นักแสดงไทย (ถึงแก่กรรม 6 กันยายน พ.ศ. 2553)
- ? - อุดม เหลืองเพชราภรณ์ นักแบดมินตันชาวไทย
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 13 มกราคม – ไลโอเนล ไฟนิงเกอร์ จิตรกรชาวอเมริกัน-เยอรมัน (เกิด 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2414)
- 5 เมษายน – โชติ แพร่พันธุ์ (ยาขอบ) นักประพันธ์ชาวไทย (เกิด 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2450)
- 5 สิงหาคม – ขุนการัญสิขภาร (ทุเรียน ทัพภะพยัคฆ์) บรรดาศักดิ์ชั้นขุน (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2431)
- 16 ตุลาคม – ชูล รีเม อดีตประธานสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติชาวฝรั่งเศส (เกิด (14 ตุลาคม พ.ศ. 2416)
บันเทิงคดีที่อ้างอิงถึงปีนี้
[แก้]- ภาพยนตร์ไทยเรื่อง 2499 อันธพาลครองเมือง
- เพลง ไอ้โจ๋ในตำนาน - ศิลปิน บิทเติ้ล Feat.เก่ง ลายพราง
รางวัล
[แก้]- สาขาเคมี – Cyril Norman Hinshelwood, Nikolay Nikolaevich Semenov
- สาขาวรรณกรรม – ฮวน รามง ฮิเมนเซ
- สาขาสันติภาพ – ไม่มีการมอบรางวัล
- สาขาฟิสิกส์ – วิลเลียม แบรดฟอร์ด ชอกลีย์, จอห์น บาร์ดีน, วอลเตอร์ เฮาเซอร์ แบรตเทน
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – อองเดร เฟรเดริค กูร์นองด์, เวอร์เนอร์ ฟอร์สสแมนน์, ดิคคินสัน ริชาร์ด