ข้ามไปเนื้อหา

กองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น
陸上自衛隊
ธงประจำเหล่าทัพ
ประจำการ1 กรกฎาคม ค.ศ. 1954
ประเทศญี่ปุ่น
เหล่ากองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น
รูปแบบกองทัพบก
กำลังรบประจำการ 147,000 นาย (2011)
กำลังสำรอง 7,000 นาย (2011)
ขึ้นกับกองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการเอจิ คิมิซุกะ
รองผู้บัญชาการยูจิ คุโนะ
ดูบทความที่เกี่ยวข้อง สำหรับ กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น (1871-1947)

กองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น (อังกฤษ: Japan Ground Self-Defense Force คำย่อ: JGSDF ญี่ปุ่น: 陸上自衛隊โรมาจิRikujō Jieitai) เป็นหนึ่งในสามเหล่าทัพ ของประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการบรรเทาทุกข์และพิทักษ์ผลประโยชน์ของประเทศญี่ปุ่น มาตั้งแต่ ค.ศ. 1954 สืบต่อจาก กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งถูกยุบไปจากการที่ญี่ปุ่นแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง

เหล่าทัพส่วนภูมิภาค

[แก้]
แผนที่แสดงที่ตั้งของกองทัพส่วนภูมิภาคต่าง ๆ ของญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น ได้แบ่งการบริหารจัดการกำลังพล ออกเป็น 5 หน่วย ประจำการในแต่ละภูมิภาค คือ




กำลังรบ

[แก้]
  • ปืนใหญ่เคลื่อนที่
  • FH-70 (480)

รถหุ้มเกราะลำเลียง

  • ปืนต่อสู้อากาศยาน


อากาศยาน อากาศยานของกองกํ่าลังป้องกันตนเองทางบกมีทั้งสิ้น 497ลำ[2]

ชื่อ บทบาท รุ่น จำนวน[2] บันทึก ภาพ
เครื่องบิน 4 ใบพัด
Beechcraft Super King Air Utility and Liaison LR-2 7
Mitsubishi MU-2 Utility and Liaison LR-1 2
เฮลิคอปเตอร์
Boeing AH-64 Apache Attack Helicopter AH-64DJP 10 Built by Fuji
Bell AH-1 Cobra Attack Helicopter AH-1S 75 Built by Fuji
Kawasaki OH-1 Scout Helicopter OH-1 37 Up to 112 on order. Replacing the OH-6D fleet.
OH-6D Scout Helicopter OH-6D 106 Built by Kawasaki. Being slowly replaced by the Kawasaki OH-1.
Boeing CH-47 Chinook Transport Helicopter CH-47J
CH-47JA
58 Built by Kawasaki
UH-60 Black Hawk Transport Helicopter UH-60JA 34 Most built by Mitsubishi
Bell UH-1 Utility Helicopter UH-1H
UH-1J
153 Built by Fuji
Enstrom 480 Trainer helicopter TH-480B 12 8 on order.
Eurocopter EC 225 VIP Helicopter EC 225LP 3 Replacing the AS332L[3][4]
เครื่องบินไร้คนขับ
Fuji FFOS & Fuji FFRS Recon UAV Small helicopter UAV. Primarily used as a forward reconnaissance platform for field artillery.[5][6]
Boeing Insitu ScanEagle Recon UAV 1 Delivered by Insitu Pacific[7]
Yamaha RMAX Recon UAV Small helicopter UAV[8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ARG. "Type 96 Armored Personnel Carrier". Military-Today.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-22. สืบค้นเมื่อ 2011-05-11.
  2. 2.0 2.1 "World Air Forces 2014". Flightglobal.com
  3. "Eurocopter Canada - News 04/07/06". Eurocopter.ca. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-07. สืบค้นเมื่อ 2011-05-11.
  4. Marignane (5 December 2005). "Japan Defense Agency Received First EC225 In VIP Configuration For The Japanese Emperor's Royal Flight Service" (Press release). EADS Press Release. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 September 2007.
  5. GSDF Fuji School 57th Open Day 2011 [Part Two] เก็บถาวร 2014-02-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Japan Security Watch, Aug 21, 2011
  6. "Fuji FFOS (Japan), Unmanned helicopters - Rotary-wing - Military". Jane's Information Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-03. สืบค้นเมื่อ 2011-08-10.
  7. Insitu Pacific Delivers ScanEagle UAS for the Japanese Ground Self Defense Force เก็บถาวร 2013-12-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Insitu.com, May 14, 2013
  8. "Yamaha RMAX (Japan), Unmanned helicopters - Rotary-wing - Civil". Jane's Information Group. สืบค้นเมื่อ 2011-08-10.

ข้อมูลเพิ่มเติม

[แก้]