พระคริสต์ทรงพระสิริ
พระคริสต์ทรงพระสิริ (อังกฤษ: Christ in Glory) หรือ พระคริสต์ผู้ยิ่งใหญ่ (อังกฤษ: Christ in Majesty ละติน: Majestas Domini),[1] เป็นภาพพระเยซูประทับบนบัลลังก์ในฐานะประมุขของโลก ในการวางองค์ประกอบของงานศิลปะจะเป็นภาพที่จะมองจากด้านหน้าเสมอ และมักจะขนาบด้วยคนหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนไปแล้วแต่บริบท ลักษณะ
ภาพ “พระคริสต์ทรงพระสิริ” เป็นภาพที่วิวัฒนาการมาตั้งแต่ศิลปะคริสเตียนยุคแรกที่นำมาโดยตรงจากภาพจักรพรรดิโรมันบนบัลลังก์ ในศิลปะไบแซนไทน์จะมีลักษณะที่ต่างออกไปเล็กน้อยเป็นภาพครึ่งพระองค์ “พระคริสต์ผู้ทรงสรรพานุภาพ” (Christ Pantocrator) และจะไม่มีสิ่งอื่นใดประกอบ และภาพ “เดอีซิส” (Deesis) ที่เป็นภาพทั้งพระองค์บนบัลลังก์ขนาบด้วยพระแม่มารีย์และนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญองค์อื่น ๆ ทางตะวันตกองค์ประกอบของภาพวิวัฒนาการมาโดยตลอดจนกระทั่งถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยังคงดำรงความสำคัญจนมาถึงปลายศิลปะบารอกที่เป็นภาพที่ลอยอยู่บนฟ้า
ระเบียงภาพ
[แก้]-
งานสร้างแทนของเดิมของ
โลงหินของจูนิอัส บาสซัส
พร้อมด้วย Traditio Legis -
“พระคริสต์ผู้ยิ่งใหญ่”
และสัญลักษณ์ของประกาศกทั้งสี่
บนประตูด้านใต้ของ
อารามเบเนดิกติน
อินนิเคน, ไทโรลใต้ -
“พระคริสต์ทรงพระสิริ”
ล้อมรอบด้วยอัครทูต
กรอบตกแต่งประตู
และการตัดสินครั้งสุดท้ายบนหน้าบัน
แบร์น, สวิตเซอร์แลนด์
อ้างอิง
[แก้]ดูเพิ่ม
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ พระคริสต์ทรงพระสิริ
- http://commons.wikimedia.org/wiki/Majestas_Domini
- http://commons.wikimedia.org/wiki/Reliefs_of_Majestas_Domini
- Christ in Majesty เก็บถาวร 2007-02-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- (Getty Museum,); Christ in Majesty, manuscript illumination, German, (Hildesheim), about 1170s
- Christ in Majesty, with apocalypse details: chancelk painting, Kempley, Gloucestershire c.1120
- Christ in Majesty: illumination in the Aberdeen Bestiary, late twelfth century
- Definition of Deesis -- Includes photos of the Deesis in the Hagia Sophia.