ภาษาบรู
หน้าตา
ภาษาบรู | |
---|---|
Bruu | |
ประเทศที่มีการพูด | ลาว, เวียดนาม, ไทย |
ชาติพันธุ์ | ชาวบรู, ชาวกะตาง |
จำนวนผู้พูด | ไม่ทราบ (300,000 อ้างถึง1991–2006)[1] |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | ละติน, ลาว, ไทย |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | มีหลากหลาย:bru – Eastern Brubrv – Western Brusss – Sôxhv – Khuancq – Northern Katangsct – Southern Katang |
ภาษาบรูเป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขากะตู มีผู้พูดส่วนใหญ่ในประเทศลาว เวียดนามและกัมพูชา พบในไทยน้อย ส่วนใหญ่อพยพมาจากประเทศลาวมาอยู่ที่จังหวัดอุบลราชธานีมีสองสำเนียงคือภาษาบรูตะวันตกและภาษาบรูตะวันออก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Eastern Bru ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
Western Bru ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
Sô ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
Khua ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
Northern Katang ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
Southern Katang ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
- สุริยา รัตนกุล. นานาภาษาในเอเชียอาคเนย์ ภาคที่ 1: ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกและภาษาตระกูลจีน-ธิเบต. กทม. ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. 2531