รายชื่อแหล่งมรดกโลกในรัฐอาหรับ
หน้าตา
แหล่งมรดกโลก คือสถานที่ที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) คัดเลือกเพื่อแสดงว่าสถานที่นั้นมีความสำคัญทางวัฒนธรรมหรือธรรมชาติ รายชื่อด้านล่างคือรายชื่อแหล่งมรดกที่ตั้งอยู่ในรัฐอาหรับ ชื่อทางการเป็นชื่อที่ใช้ในการจดทะเบียนในบัญชีมรดกโลก ชื่อภาษาไทยเป็นชื่อที่แปลชื่อทางการ โดยศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม[1] ปี คือปีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก
สถิติ
[แก้]ประเทศ | จำนวนมรดกโลก | เกณฑ์พิจารณา |
โมร็อกโก | วัฒนธรรม 9 แห่ง | |
ตูนิเซีย | วัฒนธรรม 8 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
ซาอุดีอาระเบีย | วัฒนธรรม 6 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
แอลจีเรีย | วัฒนธรรม 6 แห่ง, ผสม 1 แห่ง | |
อียิปต์ | วัฒนธรรม 6 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
อิรัก | วัฒนธรรม 5 แห่ง, ผสม 1 แห่ง | |
จอร์แดน | วัฒนธรรม 5 แห่ง, ผสม 1 แห่ง | |
ซีเรีย | วัฒนธรรม 6 แห่ง | |
เลบานอน | วัฒนธรรม 5 แห่ง | |
โอมาน | วัฒนธรรม 5 แห่ง | |
ลิเบีย | วัฒนธรรม 5 แห่ง | |
ปาเลสไตน์ | วัฒนธรรม 4 แห่ง | |
เยเมน | วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง | |
ซูดาน | วัฒนธรรม 2 แห่ง, ธรรมชาติ 1 | |
บาห์เรน | วัฒนธรรม 3 แห่ง | |
มอริเตเนีย | วัฒนธรรม 1 แห่ง, ธรรมชาติ 1 | |
กาตาร์ | วัฒนธรรม 1 แห่ง | |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | วัฒนธรรม 1 แห่ง | |
นครเยรูซาเลม | วัฒนธรรม 1 แห่ง |
- ประเทศคูเวตไม่มีสถานที่ที่ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก
- 2556/2013 – แหล่งโบราณคดีอัซซุบาเราะฮ์
- 2528/1985 – เปตรา
- 2528/1985 – กุศ็อยร์อัมเราะฮ์
- 2547/2004 – อุมมัรเราะศอศ (กาสตรอมเมฟาอา)
- 2554/2011 – พื้นที่คุ้มครองวาดีรุม
- 2558/2015 – แหล่งทำพิธีล้างบาป "เบทานีฟากตรงข้ามแม่น้ำจอร์แดน" (อัลมัฆฏ็อส)
- 2564/2021 – As-Salt - The Place of Tolerance and Urban Hospitality
- 2567/2024 – อุมมุลญิมาล
- 2551/2008 – แหล่งโบราณคดีอัลฮิจญร์ (มะดาอินศอเลียะห์)
- 2553/2010 – เขตอัฏฏุร็อยฟ์ในอัดดิรอียะฮ์
- 2557/2014 – เมืองประวัติศาสตร์ญิดดะฮ์ ประตูสู่มักกะฮ์
- 2558/2015 – ศิลปะหินในแคว้นฮาอิลแห่งซาอุดีอาระเบีย
- 2561/2018 – Al-Ahsa Oasis, an evolving Cultural Landscape
- 2564/2021 – พื้นที่วัฒนธรรมฮิมา
- 2566/2023 – อุรูกบะนีมะอาริฎ
- 2567/2024 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของพื้นที่โบราณคดีอัลฟาว
- 2522/1979 – นครโบราณดามัสกัส
- 2523/1980 – นครโบราณบอสรา
- 2523/1980 – แหล่งแพลไมรา
- 2529/1986 – นครโบราณอะเลปโป
- 2549/2006 – ครักเดเชอวาลีเยและก็อลอะฮ์เศาะลาฮุดดีน
- 2554/2011 – หมู่บ้านโบราณแห่งซีเรียตอนเหนือ
- 2546/2003 – เจเบลบาร์คัลและแหล่งในภูมิภาคแนพาตา
- 2554/2011 – แหล่งโบราณคดีเกาะเมโรอี
- 2559/2016 – อุทยานแห่งชาติทางทะเลซังกาเนบและอุทยานแห่งชาติทางทะเลอ่าวดุงโกนับ–เกาะมุกกาวาร์
- 2522/1979 – อัฒจันทร์โรมันแห่งแอลแจม
- 2522/1979 – แหล่งโบราณคดีคาร์เทจ
- 2522/1979 – ย่านเมืองเก่าตูนิส
- 2523/1980 – อุทยานแห่งชาติอิชเกิล
- 2528/1985 – เมืองพิวนิกแห่งแกร์กวนและสุสาน
- 2531/1988 – แกรูอ็อง
- 2531/1988 – ย่านเมืองเก่าซุส
- 2540/1997 – ดูกา / ทักกา
- 2566/2023 – ญิรบะฮ์ : พยานหลักฐานของรูปแบบการตั้งถิ่นฐานในดินแดนเกาะ
- 2548/2005 – ก็อลอะฮ์อัลบะห์ร็อยน์ ท่าจอดเรือโบราณและเมืองหลวงของดิลมูน
- 2555/2012 – การงมหอยมุกพยานหลักฐานของเศรษฐกิจเกาะ
- 2562/2019 – หลุมฝังศพสมัยดิลมูน
- 2555/2012 – สถานที่ประสูติของพระเยซู : โบสถ์พระคริสตสมภพและเส้นทางการจาริกแสวงบุญ เบทเลเฮม
- 2557/2014 – ปาเลสไตน์ : ดินแดนแห่งมะกอกออลิฟและเหล้าองุ่น ภูมิทัศน์วัฒนธรรมทางทิศใต้ของเยรูซาเลม บะตีร
- 2560/2017 – เมืองเก่าเฮบรอน/อัลคาลิล
- 2566/2023 – เจริโคโบราณ/ตัลลุสซุลฏอน
- 2567/2024 – อารามนักบุญฮิลาเรียน/ตัลล์อุมม์อามิร
- 2524/1981 – ย่านเมืองเก่าแฟ็ส
- 2528/1985 – ย่านเมืองเก่ามาร์ราคิช
- 2530/1987 – กซาร์แห่งอายต์-แบน-ฮาดู
- 2539/1996 – นครประวัติศาสตร์แม็กแน็ส
- 2540/1997 – แหล่งโบราณคดีโวลูบิลิส
- 2540/1997 – ย่านเมืองเก่าเตตวน (เดิมเรียกว่า ตีตาวิน)
- 2544/2001 – ย่านเมืองเก่าแอซาวีรา (มูกาโดร์เดิม)
- 2548/2004 – นครโปรตุเกสแห่งมาซากัน (แอลฌาดีดา)
- 2555/2012 – ราบัต เมืองหลวงสมัยใหม่และนครประวัติศาสตร์ : มรดกร่วมกัน
- 2525/1982 – นครเก่าที่มีป้อมปราการแห่งชิบาม
- 2529/1986 – นครเก่าซานา
- 2536/1993 – เมืองประวัติศาสตร์ซะบีด
- 2551/2008 – กลุ่มเกาะโซโคตรา
- 2524/1981 – นครเก่าเยรูซาเลมและกำแพงเมือง (เสนอขึ้นทะเบียนโดยประเทศจอร์แดน)
- 2525/1982 – แหล่งโบราณคดีไซรีนี
- 2525/1982 – แหล่งโบราณคดีเลปติสแมกนา
- 2525/1982 – แหล่งโบราณคดีแซบราทา
- 2528/1985 – แหล่งศิลปะบนหินแห่งตาดราร์ตอากากุส
- 2529/1986 – เมืองเก่ากาดาแม็ส
- 2527/1984 – อันจาร์
- 2527/1984 – บาลเบก
- 2527/1984 – บิบลัส
- 2527/1984 – ไทร์
- 2541/1998 – วาดีกอดีชา (หุบเขาศักดิ์สิทธิ์) และป่าซีดาร์ของพระเจ้า (ฮัรช์อัรซัรร็อบ)
- 2554/2011 – แหล่งวัฒนธรรมแห่งอัลอัยน์ (ฮะฟีต, ฮีลี, บิดะอ์บินต์ซะอูด และพื้นที่โอเอซิส)
- 2528/1985 – แฮตรา
- 2546/2003 – อาชูร์ (ก็อลอะฮ์ชัรกียะฮ์)
- 2550/2007 – นครโบราณคดีซามาร์รา
- 2557/2014 – ป้อมเอร์บีล
- 2559/2016 – อะฮ์วารแห่งอิรักตอนใต้ : ที่ปลอดภัยของความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิทัศน์ที่เหลืออยู่ของนครเมโสโปเตเมีย
- 2562/2019 – บาบิโลน
- 2522/1979 – อะบูมีนา
- 2522/1979 – ทีบส์โบราณและสุสาน
- 2522/1979 – เมืองประวัติศาสตร์ไคโร
- 2522/1979 – เมมฟิสและสุสาน – กลุ่มพีระมิดตั้งแต่กีซาถึงดาห์ชูร์
- 2522/1979 – โบราณสถานแห่งนิวเบียจากอะบูซิมเบลถึงฟีลี
- 2545/2002 – พื้นที่นักบุญแคเทอริน
- 2548/2005 – วาดีอัลฮีตาน (หุบเขาวาฬ)
- 2523/1980 – อัลก็อลอะฮ์แห่งเบนีฮัมมาด
- 2525/1982 – เจมีลา
- 2525/1982 – หุบเขาอึมซาบ
- 2525/1982 – ตาซีลีนาแฌร์
- 2525/1982 – ตีมกาด
- 2525/1982 – ตีปาซา
- 2535/1992 – ก็อศบะฮ์แห่งแอลเจียร์
- 2530/1987 – ป้อมบะฮ์ลาอ์
- 2531/1988 – แหล่งโบราณคดีบาต, อัลคุฏม์ และอัลอัยน์
2537/1994 – เขตรักษาพันธุ์ออริกซ์อาระเบียถูกถอดจากบัญชีมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2550- 2543/2000 – ดินแดนแห่งกำยาน
- 2549/2006 – ระบบชลประทานอัฟลาจญ์แห่งโอมาน
- 2561/2018 – นครโบราณคาลฮัท
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-11-27. สืบค้นเมื่อ 2021-08-27.