ข้ามไปเนื้อหา

ไนโตรเจน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Nitrogen)
ไนโตรเจน, 00N
A transparent liquid, with visible evaporation, being poured
Liquid nitrogen (N2 at below −196 °C)
ไนโตรเจน
อัญรูปsee § Allotropes
รูปลักษณ์เป็นธาตุไม่มีสี ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใด
Standard atomic weight Ar°(N)
  • [14.0064314.00728]
  • 14.007±0.001 (abridged)[1]
ไนโตรเจนในตารางธาตุ
Hydrogen Helium
Lithium Beryllium Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon
Sodium Magnesium Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon
Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton
Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon
Caesium Barium Lanthanum Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury (element) Thallium Lead Bismuth Polonium Astatine Radon
Francium Radium Actinium Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson
-

N

P
คาร์บอนไนโตรเจนออกซิเจน
หมู่group 15 (pnictogens)
คาบคาบที่ 2
บล็อก  บล็อก-p
การจัดเรียงอิเล็กตรอน[He] 2s2 2p3
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น2, 5
สมบัติทางกายภาพ
วัฏภาค ณ STPแก๊ส
จุดหลอมเหลว63.15 K ​(−210.00 °C, ​−346.00 °F)
จุดเดือด77.355 K ​(−195.795 °C, ​−320.431 °F)
ความหนาแน่น (ณ STP)1.251 g/L
เมื่อเป็นของเหลว (ณ b.p.)0.808 g/cm3
Triple point63.151 K, ​12.52 kPa
Critical point126.192 K, 3.3958 MPa
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว(N2) 0.72 kJ/mol
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ(N2) 5.56 kJ/mol
ความจุความร้อนโมลาร์(N2)
29.124 J/(mol·K)
ความดันไอ
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
at T (K) 37 41 46 53 62 77
สมบัติเชิงอะตอม
เลขออกซิเดชัน−3, −2, −1, 0,[2] +1, +2, +3, +4, +5 (ออกไซด์เป็นกรดที่แรง)
อิเล็กโตรเนกาทิวิตีPauling scale: 3.04
รัศมีอะตอมcalculated: 56 pm
รัศมีโคเวเลนต์71±1 pm
รัศมีวานเดอร์วาลส์155 pm
Color lines in a spectral range
Color lines in a spectral range
เส้นสเปกตรัมของไนโตรเจน
สมบัติอื่น
การนำความร้อน25.83 × 10−3 W/(m⋅K)
ความเป็นแม่เหล็กไดอะแมกเนติก
ความเร็วของเสียง(gas, 27 °C) 353 m/s
เลขทะเบียน CAS7727-37-9
ประวัติศาสตร์
การค้นพบแดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ด (1772)
Named byยีน-อองตวน แชปทอล (1790)
ไอโซโทปของไนโตรเจน
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของไนโตรเจน
หมวดหมู่ หมวดหมู่: ไนโตรเจน
| แหล่งอ้างอิง

ไนโตรเจน (อังกฤษ: Nitrogen) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ N และเลขอะตอม 7 เป็นอโลหะที่มีสถานะเป็นแก๊สที่มีอยู่ทั่วไป โดยปกติไม่มีสี กลิ่น หรือรส แต่ละโมเลกุลมี 2 อะตอม ไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบของบรรยากาศ ของโลกถึง 78 เปอร์เซ็นต์ และเป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ไนโตรเจนยังเป็นส่วนประกอบในสารประกอบที่สำคัญหลายชนิด เช่น กรดอะมิโน แอมโมเนีย กรดไนตริก และสารจำพวกไซยาไนด์

ลักษณะทั่วไป

[แก้]

ไนโตรเจนเป็นธาตุอโลหะที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี 3.04 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 5 ตัว ไนโตรเจนบริสุทธิ์มีสถานะเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้อง ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่มีรส เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของบรรยากาศโลก เนื่องจากมีปริมาณมากถึงร้อยละ 78 ของอากาศไนโตรเจนจะควบแน่นเป็นไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิ 77 เคลวินและแข็งตัวที่อุณหภูมิ 63 เคลวิน

การนำไปใช้ประโยชน์

[แก้]
  • ใช้เติมในลมยางของอากาศยานและยานยนต์
  • แอมโมเนียใช้เป็นอาวุธในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และใช้เป็นปุ๋ยในพืช
  • ยูเรียใช้เป็นปุ๋ยในพืช
  • กรดไนตริก ผสมกับกรดไฮโดรคลอริกจะได้อควารีเจีย หรือกรดกัดทอง สามารถละลายทองคำได้
  • ไนตรัสออกไซด์หรือก๊าซหัวเราะใช้เป็นยาสลบในทางทันตกรรม
  • โซเดียมเอไซด์ใช้บรรจุในถุงลมนิรภัย
  • ไนโตรเจนเหลวใช้ในงานเชื่อมท่อทองแดงไม่ให้เกิดอ๊อกไซด์
  • ใช้ในงานอุตสาหกรรมได้หลายประการ เช่น นำไปสังเคราะห์ก๊าซแอมโมเนีย ในอุตสาหกรรมสามารถใช้แอมโมเนีย และกรดไนตริกไปสังเคราะห์สารอื่นที่มีประโยชน์ เช่น ปุ๋ย สี ยารักษาโรค วัตถุระเบิด ปลาสติก นอกจากนั้นยังใช้ไนโตรเจนเหลวเป็นตัวทำความเย็น ในวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาวะเย็นจัดยวดยิ่ง ใช้ก๊าซไนโตรเจนบรรจุในหลอดไฟฟ้าชนิดใช้เส้นลวดโลหะเป็นไส้ เพื่อป้องกันไม่ให้ไส้หลอดขาดเร็ว ใช้บรรจุในหลอดเทอร์โมมิเตอร์ที่ใช้วัดอุณหภูมิสูง ใช้ในอุตสาหกรรมเชื่อมโลหะคือ ใช้ก๊าซไนโตเจนเป็นตัวกัน มิให้ออกซิเจนในอากาศเข้าไปทำปฎิกิริยากับโลหะ ในขณะเชื่อม[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Standard Atomic Weights: Nitrogen". CIAAW. 2009.
  2. Tetrazoles contain a pair of double-bonded nitrogen atoms with oxidation state 0 in the ring. A Synthesis of the parent 1H-tetrazole, CH2N4 (two atoms N(0)) is given in Ronald A. Henry and William G. Finnegan, "An Improved Procedure for the Deamination of 5-Aminotetrazole", _J. Am. Chem. Soc._ (1954), 76, 1, 290–291, https://doi.org/10.1021/ja01630a086.
  3. "ไนโตรเจน : เกร็ดความรู้ จากสารานุกรมไทย". www.baanjomyut.com.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]