ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลทีมชาติกาตาร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กาตาร์
ฉายาالعنابي
(The Maroon)
สมาคมสมาคมฟุตบอลกาตาร์
สมาพันธ์ย่อยWAFF (เอเชียตะวันตก)
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนFélix Sánchez
กัปตันฮะซัน อัลฮัยดูส[1]
ติดทีมชาติสูงสุดฮะซัน อัลฮัยดูส (170)[2]
ทำประตูสูงสุดมันศูร มุฟตาห์ กับ อัลมุอิซ อะลี (42)
สนามเหย้าหลายแห่ง
รหัสฟีฟ่าQAT
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 35 ลดลง 1 (20 มิถุนายน 2024)[3]
อันดับสูงสุด42 (สิงหาคม ค.ศ. 2021)
อันดับต่ำสุด113 (พฤศจิกายน ค.ศ. 2010)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 2–1 กาตาร์ ธงชาติประเทศกาตาร์
(มะดีนะฮ์อีซา ประเทศบาห์เรน; 27 มีนาคม ค.ศ. 1970)
ชนะสูงสุด
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ 15–0 ภูฏาน ธงชาติภูฏาน
(โดฮา ประเทศกาตาร์; 3 กันยายน ค.ศ. 2015)
แพ้สูงสุด
ธงชาติคูเวต คูเวต 9–0 กาตาร์ ธงชาติประเทศกาตาร์
(ประเทศคูเวต; 8 มกราคม ค.ศ. 1973)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2022)
ผลงานดีที่สุดรอบกลุ่ม (2022)
เอเชียนคัพ
เข้าร่วม11 (ครั้งแรกใน 1980)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (2019, 2023)
อาหรับคัพ
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 1985)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1998)
คอนคาแคฟโกลด์คัพ
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2021)
ผลงานดีที่สุดรอบรองชนะเลิศ (2021)
เว็บไซต์qfa.qa

ฟุตบอลทีมชาติกาตาร์ (อาหรับ: منتخب قطر لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศกาตาร์ อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลกาตาร์และสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย

ทีมเคยเข้าร่วมแข่งขันในเอเชียนคัพ 11 ครั้ง โดยชนะเลิศสองสมัยในปี 2019 และ 2023 พวกเขาลงเล่นเกมเหย้าส่วนใหญ่ที่สนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์และสนามกีฬาญัสซิม บิน ฮะมัด โดยสนามแห่งหลังถือว่าเป็นสนามเหย้าหลักของทีมชาติ[4]

กาตาร์ลงเล่นในฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายครั้งแรกในปี 2022 ซึ่งพวกเขาผ่านเข้ารอบได้ในฐานะเจ้าภาพ ถือเป็นครั้งแรกที่ชาติอาหรับเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก อย่างไรก็ตาม พวกเขาตกรอบแบ่งกลุ่มด้วยความพ่ายแพ้สามนัดรวด

ผลงาน

[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่สาม  

ภาพรวม
รายการแข่งขัน อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 อันดับที่ 3
อาหรับคัพ 0 1 1
เอเชียนคัพ 1 0 0
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันตก 1 0 1
กัลฟ์คัพ 3 4 2
เอเชียนเกมส์ 1 0 0
ทั้งหมด 6 5 4
สถิติในฟุตบอลโลก สถิติในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก
ปี ผลงาน อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ* แพ้ ได้ เสีย แข่ง ชนะ เสมอ* แพ้ ได้ เสีย
อุรุกวัย 1930 ยังไม่เป็นสมาชิกฟีฟ่า ยังไม่เป็นสมาชิกฟีฟ่า
อิตาลี 1934
ฝรั่งเศส 1938
บราซิล 1950
สวิตเซอร์แลนด์ 1954
สวีเดน 1958
ชิลี 1962
อังกฤษ 1966 ไม่ได้เข้าร่วม ปฏิเสธการเข้าร่วม
เม็กซิโก 1970
เยอรมนีตะวันตก 1974 ถอนตัวจากรอบคัดเลือก ถอนตัวจากการแข่งขัน
อาร์เจนตินา 1978 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 4 1 0 3 3 9
สเปน 1982 4 2 0 2 5 3
เม็กซิโก 1986 4 2 0 2 6 3
อิตาลี 1990 11 4 6 1 12 8
สหรัฐอเมริกา 1994 8 5 1 2 22 8
ฝรั่งเศส 1998 11 6 1 4 21 10
เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น 2002 14 7 4 3 24 13
เยอรมนี 2006 6 3 0 3 16 8
แอฟริกาใต้ 2010 16 6 4 6 16 20
บราซิล 2014 14 5 5 4 18 14
รัสเซีย 2018 16 9 1 6 35 14
ประเทศกาตาร์ 2022 รอบแบ่งกลุ่ม อันดับที่ 32 3 0 0 3 1 7 ผ่านเข้ารอบในฐานะเจ้าภาพ
แคนาดา เม็กซิโก สหรัฐอเมริกา 2026 รอแข่งขัน รอแข่งขัน
รวมทั้งหมด รอบแบ่งกลุ่ม 1/22 3 0 0 3 1 7 108 50 22 36 178 110
  • 1956-1972 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1976 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1980-1992 - รอบแรก
  • 1996 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 2000 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
  • 2004 - รอบแรก
  • 2007 - รอบแรก
  • 2011 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
  • 2019 - ชนะเลิศ
  • 2023 - ชนะเลิศ
  • 2000-2004 - ไม่ได้เข้าร่วม

กัลฟ์คัพ

[แก้]
  • ชนะเลิศ - 1992, 2004

เอเชียนเกมส์

[แก้]
  • เหรียญทอง - 2006

ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี

[แก้]
  • ชนะเลิศ - 1990

โอลิมปิกเกมส์

[แก้]
  • เข้ารอบสุดท้าย - 1984, 1992

อาหรับ คัพ ออฟ เนชั่นส์

[แก้]
  • รองชนะเลิศ - 1998

ฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี

[แก้]
  • รองชนะเลิศ - 1981

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

[แก้]

ผู้เล่นทีมชาติกาตาร์ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบสุดท้ายที่พวกเขาเป็นเจ้าภาพ โดยประกาศรายชื่อผู้เล่นรอบสุดท้ายเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022[5]

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK ซะอด์ อัชชีบ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) 76 0 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
2 2DF รอ-รอ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) 80 1 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
3 3MF อับดุลกะรีม ฮะซัน 28 สิงหาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) 130 15 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
4 2DF มุฮัมมัด วะอด์ 18 กันยายน ค.ศ. 1999 (อายุ 23 ปี) 21 0 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
5 2DF ฏอริก ซัลมาน 5 ธันวาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 24 ปี) 58 0 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
6 3MF อับดุลอะซีซ ฮาติม 28 ตุลาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) 107 11 ประเทศกาตาร์ อัรร็อยยาน
7 4FW อะห์มัด อะลาอุดดีน 31 มกราคม ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) 47 2 ประเทศกาตาร์ อัลฆ็อรรอฟะฮ์
8 3MF อะลี อะซะดุลลอฮ์ 19 มกราคม ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) 59 12 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
9 4FW มุฮัมมัด มูนตารี 20 ธันวาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 28 ปี) 48 13 ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์
10 3MF ฮะซัน อัลฮัยดูส (กัปตัน) 11 ธันวาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 31 ปี) 169 36 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
11 4FW อักร็อม อะฟีฟ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) 89 26 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
12 3MF กะรีม บูฎียาฟ 16 กันยายน ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) 115 6 ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์
13 2DF มุศอับ เคาะฎิร 26 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 29 ปี) 30 0 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
14 2DF ฮุมาม อะห์มัด 25 สิงหาคม ค.ศ. 1999 (อายุ 23 ปี) 29 2 ประเทศกาตาร์ อัลฆ็อรรอฟะฮ์
15 2DF บัสซาม อัรรอวี 16 ธันวาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 24 ปี) 58 2 ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์
16 2DF บูอ์ลาม คูคี 7 กันยายน ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) 105 20 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
17 2DF อิสมาอีล มุฮัมมัด 5 เมษายน ค.ศ. 1990 (อายุ 32 ปี) 70 4 ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์
18 4FW คอลิด มุนีร 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 (อายุ 24 ปี) 2 0 ประเทศกาตาร์ อัลวักเราะฮ์
19 4FW อัลมุอิซซ์ อะลี 19 สิงหาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) 85 42 ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์
20 3MF ซาลิม อัลฮาจญ์รี 10 เมษายน ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) 22 0 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
21 1GK ยูซุฟ ฮะซัน 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) 7 0 ประเทศกาตาร์ อัลฆ็อรรอฟะฮ์
22 1GK มัชอัล บัรชัม 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 (อายุ 24 ปี) 20 0 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์
23 3MF อาศิม มาดีบู 22 ตุลาคม ค.ศ. 1996 (อายุ 26 ปี) 43 0 ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์
24 3MF นายิฟ อัลฮัฎเราะมี 18 กรกฎาคม ค.ศ. 2001 (อายุ 21 ปี) 1 0 ประเทศกาตาร์ อัรร็อยยาน
25 3MF ญาซิม ญาบิร 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2002 (อายุ 20 ปี) 0 0 ประเทศกาตาร์ อัลอะเราะบี
26 3MF มุศเฏาะฟา มัชอัล 28 มีนาคม ค.ศ. 2001 (อายุ 21 ปี) 1 0 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์

ชุดแข่งขัน

[แก้]

ชุดเหย้าของกาตาร์เป็นสีแดงเลือดหมูล้วน ส่วนชุดเยือนเป็นสีขาวล้วน ผู้ผลิตชุดแข่งขันรายแรกสุดคืออัมโบรซึ่งผลิตชุดแข่งตั้งแต่ ค.ศ. 1984 ถึง 1989 ปัจจุบันชุดแข่งขันทั้งหมดของกาตาร์ผลิตโดยไนกี้

ผู้ผลิต ช่วงปี
สหราชอาณาจักร อัมโบร 1984–1989
เยอรมนี อาดิดาส 1990–1996
ไทย แกรนด์สปอร์ต 1997–2002
เยอรมนี อาดิดาส 2003–2008
สวิตเซอร์แลนด์ Burrda 2009–2011
สหรัฐอเมริกา ไนกี้ 2012–ปัจจุบัน

เกียรติประวัติ

[แก้]

รายการหลัก

[แก้]
  • อาระเบียนกัลฟ์คัพ
    • ชนะเลิศ (3): 1992, 2004, 2014
  • ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันตก
    • ชนะเลิศ (1): 2014

รายการอื่น ๆ

[แก้]
  • ฟุตบอลชิงแชมป์กระชับมิตรนานาชาติ
    • ชนะเลิศ (1): 2018

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Al Haydos: It's an honour to captain my country". FIFA.com. 13 November 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2016. สืบค้นเมื่อ 25 December 2017.
  2. "Hassan Khalid Al-Haydos - Century of International Appearances".
  3. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
  4. "Qatar stadia". qatarvisitor.com. สืบค้นเมื่อ 26 December 2014.
  5. "Coach Sanchez names Qatar squad for World Cup debut". Qatar Football Association. 11 November 2022. สืบค้นเมื่อ 12 November 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]