มุฮัมมัด อัลบุคอรี
มุฮัมมัด อิบน์ อิสมาอิล อัลบุคอรี | |
---|---|
محمد بن اسماعيل البخاري | |
คำนำหน้าชื่อ | อิหม่ามบุคอรี อะมีรุลมุอ์มินีน ฟี อัลฮะดีษ |
ส่วนบุคคล | |
เกิด | 21 กรกฎาคม ค.ศ. 810 13 เชาวาล ฮ.ศ. 194 |
มรณภาพ | 1 กันยายน ค.ศ. 870 1 เชาวาล ฮ.ศ.256 Khartank ซามาร์กันต์ รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ | (60 ปี)
ที่ฝังศพ | Khartank (ซามาร์กันต์, อุซเบกิสถาน) |
ศาสนา | อิสลาม |
ชาติพันธุ์ | ชาวเปอร์เซีย |
ยุค | ยุคทองของอิสลาม (สมัยอับบาซียะฮ์) |
ภูมิภาค | รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ |
นิกาย | ซุนนี |
สำนักคิด | อิจญ์ติฮาด[1] |
ลัทธิ | อะษะรียะฮ์[3] |
ความสนใจหลัก | ฮะดีษ อะกีดะฮ์ |
ผลงานโดดเด่น | ซอฮิฮ์ อัล-บุคอรี อัลอะดะบุลมุฟร็อด |
อาชีพ | มุฮัดดิษ |
ตำแหน่งชั้นสูง | |
อิหม่ามบุคอรี | |
---|---|
สุสานของอิหม่ามบุคอรีใกล้ซามาร์กันต์, อุซเบกิสถาน | |
ผู้บันทึกฮะดีษ | |
นับถือ ใน | อิสลามนิกายซุนนี |
สักการสถานหลัก | Khartank (ซามาร์กันต์, อุซเบกิสถาน) |
มุฮัมมัด อิบน์ อิสมาอีล อัลบุคอรี (เปอร์เซีย: بخاری; 21 กรกฎาคม ค.ศ.810 – 1 กันยายน ค.ศ.870) มักเรียกเป็น อิหม่ามบุคอรี[5] เป็นนักวิชาการอิสลามชาวเปอร์เซีย[6][7][8] ที่ถือกำเนิดในบูฆอรอ (เมืองหลวงของแคว้นบุคอรอ ประเทศอุซเบกิสถาน) เขาเป็นคนรวมรวมชุดฮะดีษลงในหนังสือที่มีชื่อว่า เศาะฮีฮ์ อัลบุคอรี ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันในกลุ่มชาวมุสลิมนิกายซุนนี และหนังสืออื่น ๆ เช่น อัลอะดะบุลมุฟร็อด[9]
ประวัติ
[แก้]เกิด
[แก้]มุฮัมมัด อิบน์ อิสมาอิล อัลบุคอรี อัลญุอ์ฟี เกิดในวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ.810 (13 เชาวาล ฮ.ศ.194) ในเมืองบุคอรอ, ทรานโซเซียนา[10] (ปัจจุบันคือประเทศอุซเบกิสถาน).[6][11]
การศึกษาฮะดีษ และการเดินทาง
[แก้]ตอนที่เขามีอายุ 16 ปี เขาไปทำฮัจญ์ที่มักกะฮ์พร้อมกับน้องและแม่ของเขา โดยตอนอยู่ที่นั่น เขาเดินทางไปที่สำนักอิสลามเพื่อสอบถามนักปราชญ์และแลกเปลี่ยนฮะดีษ.
หนังสือของเขาเป็นที่แนะนำในกลุ่มมุสลิมนิกายซุนนีอย่างมาก และถือเป็นหนังสือฮะดีษที่เที่ยงตรงที่สุด แต่บุคอรีไม่ได้ทำฮะดีษอย่างเดียวเท่านั้น เขายังผลิตหนังสืออื่นอีก เช่น อัล-อะดาบ อัล-มุฟรัด เป็นต้น
วาระสุดท้าย
[แก้]ในปีค.ศ.864/ฮ.ศ.250 เขาเดินทางไปที่นิชาปูร์ แล้วเขาพบกับมุสลิม อิบน์ อัล-ฮัจญาจ์ โดยบุคอรีรับเขาเป็นศิษย์ และหลังจากนั้น มุสลิมก็กลายเป็นผู้รวบรวมฮะดีษในหนังสือชื่อ ซอฮิฮ์ มุสลิม. แต่เนื่องจากว่ามีปัญหาทางการเมือง จึงทำให้บุคอรีย้ายไปที่ Khartank, ซึ่งเป็นหมู่บ้านใกล้ซามาร์กันต์ แล้วเสียชีวิตในปีค.ศ.870/ฮ.ศ.256.[12]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Ibn Taymiyya. Majmu' al-Fatawa (ภาษาอาหรับ). Vol. 20. p. 40.
- ↑ Al-Bukhari. Sahih al-Bukhari (ภาษาอาหรับ). Vol. 9. p. 124.
- ↑ Brown, Jonathan (2007). "Three: The Genesis of al-Bukhārī and Muslim". The Canonization of al-Bukhari and Muslim: The Formation and Function of the Sunni Hadith Canon. Koninklijke Brill NV, Leiden, The Netherlands: Brill. pp. 78–80. ISBN 978-90-04-15839-9.
..it is not very accurate to employ the term “rationalist” in any sense when describing al-Bukhārī, since he was a diehard traditionalist. Rather, we should view him as a representative of Ibn Hanbal’s original traditionalist school... Al-Bukhari’s allegiance to the ahl al-hadith camp and to Ibn Hanbal himself is thus obvious. Indeed, he quotes Ibn Hanbal as evidence for his position on the lafz.. It is more accurate to describe al-Bukhari as a conservative traditionalist
- ↑ Ibn Rāhwayh, Isḥāq (1990), Balūshī, ʻAbd al-Ghafūr ʻAbd al-Ḥaqq Ḥusayn (บ.ก.), Musnad Isḥāq ibn Rāhwayh (1st ed.), Tawzīʻ Maktabat al-Īmān, pp. 150–165
- ↑ อาหรับ: أبو عبد الله محمد بن إسماعيل بن إبراهيم بن المغيرة بن بردزبه الجعفي البخاري: อบูอับดุลลอฮ์ มุฮัมมัด อิบน์ อิสมาอีล อิบน์ อิบรอฮีม อิบน์ อัลมุฆีเราะฮ์ อิบน์ บัรดิซบะฮ์ อัลญุอ์ฟี อัลบุคอรี
- ↑ 6.0 6.1 Salaahud-Deen ibn ʿAlee ibn ʿAbdul-Maujood (ธันวาคม 2005). The Biography of Imam Bukhaaree. Translated by Faisal Shafeeq (1st ed.). Riyadh: Darussalam. ISBN 9960969053.
- ↑ Bourgoin, Suzanne Michele; Byers, Paula Kay, บ.ก. (1998). "Bukhari". Encyclopedia of World Biography (2nd ed.). Gale. p. 112. ISBN 9780787625436.
- ↑ Lang, David Marshall, บ.ก. (1971). "Bukhārī". A Guide to Eastern Literatures. Praeger. p. 33. ISBN 9780297002741.
- ↑ "Al-Adab al-Mufrad". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 ธันวาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2019.
- ↑ "Encyclopædia Britannica".[ลิงก์เสีย]
- ↑ Melchert, Christopher. "al-Bukhārī". Encyclopaedia of Islam, THREE. Brill Online.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Tabish Khair (2006). Other Routes: 1500 Years of African and Asian Travel Writing. Signal Books. pp. 393–. ISBN 978-1-904955-11-5.
สารานุกรม
[แก้]ปฐมภูมิ
[แก้]- al-Bukhārī, al-Jāmiʿ al-ṣaḥīḥ, 9 vols. In 3, Būlāq 1311–3, repr. Liechtenstein 2001
- al-Bukhārī, al-Taʾrīkh al-kabīr, 4 vols. In 8, Hyderabad 1358–62/1941–5, 1377/19582
- al-Dhahabī, Taʾrīkh al-Islām, ed. ʿUmar ʿAbd al-Salām Tadmurī (Beirut 1407–21/1987–2000), 19 (251–60 A.H.):238–74
- Ibn Abī Ḥātim, K. al-Jarḥ wa-l-taʿdīl, 4 vols. In 8, Hyderabad 1360/1941
- Ibn ʿAdī al-Qaṭṭān, al-Kāmil fī ḍuʿafāʾ al-rijāl, ed. ʿĀdil Aḥmad ʿAbd al-Mawjūd et al., Beirut, 1418/1997
- Ibn ʿAdī al-Qaṭṭān, Asāmī man rawā ʿanhum Muḥammad b. Ismāʿīl al-Bukhārī, ed. ʿĀmir Ḥasan Ṣabrī, Beirut, 1414/1994
- Ibn ʿAsākir, Taʾrīkh madīnat Dimashq, ed. Muḥibb al-Dīn Abī Saʿīd al-ʿAmrawī, 70 vols., Beirut 1415/1995
- Ibn Ḥajar, Fatḥ al-bārī, ed. ʿAbd al-ʿAzīz b. ʿAbdallāh Ibn Bāz, 15 vols. Beirut, 1428–9/2008
- al-Khaṭīb al-Baghdādī, Taʾrīkh Baghdād aw Madīnat al-Salām (Cairo 1349/1931), 2:4–34
- al-Khaṭīb al-Baghdādī, Taʾrīkh Madīnat al-Salām, ed. Bashshar ʿAwwād Maʿrūf (Beirut 1422/2001), 2:322–59
- al-Nawawī, Tahdhīb al-asmāʾ wa-l-lughāt, Cairo 1927
- al-Qasṭallānī, Irshād al-sārī Ṣaḥīḥ al-Bukhārī, ed. Muḥammad ʿAbd al-ʿAzīz al-Khālidī, 15 vols., Beirut 1416/1996.
ทุติยภูมิ
[แก้]- Ghassan Abdul-Jabbar, Bukhari, London, 2007
- Muḥammad ʿIṣām ʿArār al-Ḥasanī, Itḥāf al-qāriʾ bi-maʿrifat juhūd wa-aʿmāl al-ʿulamāʾ ʿalā Ṣaḥīḥ al-Bukhārī, Damascus 1407/1987
- Jonathan Brown, The canonization of al-Bukhārī and Muslim, Leiden 2007
- Eerik Dickinson, The development of early Sunnite ḥadīth criticism, Leiden 2001
- Mohammad Fadel, "Ibn Ḥajar’s Hady al-sārī," JNES 54 (1995), 161–97
- Johann W. Fück, "Beiträge zur Überlieferungsgeschichte von Bukhārī’s Traditionssammlung," ZDMG 92 (n.s. 17, 1938), 60–87
- Ignaz Goldziher, Muslim studies, ed. S. M. Stern, trans. C. R. Barber and S. M. Stern (Chicago 1968–71), 2:216–29
- Nizār b. ʿAbd al-Karīm b. Sulṭān al-Ḥamadānī, al-Imām al-Bukhārī, Mecca 1412/1992
- al-Ḥusaynī ʿAbd al-Majīd Hāshim, al-Imām al-Bukhārī, Cairo n.d.
- Abū Bakr al-Kāfī, Manhaj al-Imām al-Bukhārī, Beirut 1421/2000
- Najm ʿAbd al-Raḥmān Khalaf, Istidrākāt ʿalā Taʾrīkh al-turāth al-ʿArabī li-Fuʾād Sizkīn fī ʿilm al-ḥadīth (Beirut 1421/2000), 135–264
- Scott C. Lucas, "The legal principles of Muḥammad b. Ismāʿīl al-Bukhārī and their relationship to classical Salafi Islam," ILS 13 (2006), 289–324
- Christopher Melchert, "Bukhārī and early hadith criticism," JAOS 121 (2001), 7–19
- Christopher Melchert, "Bukhārī and his Ṣaḥīḥ," Le Muséon 123 (2010), 425–54
- Alphonse Mingana, An important manuscript of the traditions of Bukhārī, Cambridge 1936
- Rosemarie Quiring-Zoche, "How al-Bukhārī’s Ṣaḥīḥ was edited in the Middle Ages. ʿAlī al-Yūnīnī and his rumūz," BEO 50 (1998), 191–222
- Fuat Sezgin, Buhârî’nin kaynakları, Istanbul 1956
- Umm ʿAbdallāh bt. Maḥrūs al-ʿAsalī et al., Fihris Muṣannafāt al-Imām Abī ʿAbdallāh Muḥammad b. Ismāʿīl al-Bukhārī…fīmā ʿadā al-Ṣaḥīḥ, Riyadh 1408/1987–8