คริส เจริโค
Chris Jericho | |
---|---|
เกิด | Christopher Keith Irvine พฤศจิกายน 9, 1970 Manhasset, New York, U.S. |
พลเมือง |
|
ศิษย์เก่า | Red River College Polytechnic |
อาชีพ |
|
คู่สมรส | Jessica Lockhart (สมรส 2000) |
บุตร | 3 |
ญาติ | Ted Irvine (father) |
เว็บไซต์ | chrisjericho talkisjericho webisjericho |
ชื่อบนสังเวียน | Chris Jericho[1] Corazón de León Lionheart León D' Oro Lion Do Super Liger[2] |
ส่วนสูง | 6 ฟุต 0 นิ้ว (183 เซนติเมตร)[1] |
น้ำหนัก | 227 ปอนด์ (103 กิโลกรัม)[1] |
มาจาก | Calgary, Alberta, Canada Manhasset, New York[3] Winnipeg, Manitoba, Canada |
ฝึกหัดโดย | Ed Langley Stu Hart[4] |
เปิดตัว | October 2, 1990[4] |
ลายเซ็น | |
คริสโตเฟอร์ คีท เออร์วิน (Christopher Keith Irvine) เกิดวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970[5] นักมวยปล้ำอาชีพชาวแคนาดา แต่เกิดที่สหรัฐอเมริกา เซ็นสัญญาปล้ำกับ WWE ในชื่อที่รู้จักกันดี คริส เจริโค (Chris Jericho)[1] เป็นทั้งนักร้องนำของวงฟอซซี[6] และเป็นนักแสดงทางโทรทัศน์, ละครเวที อีกทั้งยังเป็นเจ้าของ สถานีวิทยุ และโทรทัศน์ อีกด้วย นอกจากนี้ยังเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะนักมวยปล้ำของสมาคม WCW และ ECW[7] และเขายังปล้ำให้กับสมาคมนานาประเทศอย่าง แคนาดา, เม็กซิโก และญี่ปุ่น อีกด้วย และเป็นหนึ่งในผู้แข่งขันในปี 2011 ประเภทเต้นรำในรายการแดนซิ่งวิชเดอะสตาร์ส ซีซั่น 12 และได้ถูกโหวตออกในสัปดาห์ที่ 5[8]
ประวัติ
[แก้]เวิลด์เรสต์ลิงเฟดเดอเรชั่น/เอ็นเตอร์เทนเมนต์
[แก้]เจริโคได้เปิดตัวครั้งแรกใน WWF (WWE ในปัจจุบัน) เมื่อปี 1999 เขามีชื่อเสียงโด่งดังโดยการคว้าแชมป์โลกอันดิสพิวเด็ดเป็นคนแรก และเขายังได้เป็นแชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัลที่สมัยมากที่สุด ด้วยสถิติถึง 9 สมัย เป็นแชมป์โลก 6 สมัย (แชมป์โลก WCW 2 สมัย, แชมป์ WWE 1 สมัย และแชมป์โลกเฮฟวี่เวท 3 สมัย) และยังเป็นแชมป์ทริปเปิลคราวน์คนที่9 และแชมป์แกรนด์สแลมคนที่4 ของ WWE อีกด้วย[9] ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 21 เขาได้ร่วมปล้ำมันนีอินเดอะแบงก์แลดเดอร์แมตช์เป็นครั้งแรกแต่ไม่ชนะ ในรอว์ สิงหาคม 2005 เขาแพ้ในการชิงแชมป์ WWE กับจอห์น ซีนา ทำให้ถูกผู้จัดการทั่วไปของรอว์ เอริก บิสชอฟฟ์ ไล่ออกจาก WWE
การกลับมา WWE
[แก้]ในช่วงปลายปี 2007 เจริโคได้กลับมาWWE และได้เปิดศึกท้ากับชิงแชมป์ WWE กับแรนดี ออร์ตันในอาร์มาเกดดอน (2007) แต่ถูกเจบีแอลลอบทำร้ายในแมตช์ ทำให้เจริโคชนะฟาล์ว แต่ไม่ได้เข็มขัด[10] ในรอยัลรัมเบิล (2008) เจริโคได้เจอกับเจบีแอล เพื่อล้างแค้น แต่เจริโคถูกปรับแพ้ฟาล์ว[11] ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24 ได้เข้าร่วมปล้ำมันนีอินเดอะแบงก์แลดเดอร์แมตช์แต่ไม่ชนะ ในอันฟอร์กิฟเว่น (2008) เจริโคสามารถคว้าแชมป์โลกเฮฟวี่เวทมาได้[12] ก่อนจะเสียแชมป์ให้บาทิสตาในไซเบอร์ซันเดย์ (2008) ในรอว์เจริโคสามารถคว้าแชมป์โลกเฮฟวี่เวทกลับคืนมาได้จากบาทิสตาในแมตช์กรงเหล็ก[13] ต่อมาก็เสียแชมป์ให้จอห์น ซีนาในเซอร์ไวเวอร์ซีรีส์ (2008) เจริโคยังได้รับรางวัลสแลมมีอะวอร์ด ประจำปี 2008 ในฐานะเป็นซูเปอร์สตาร์ยอดเยี่ยมแห่งปี[14] ต่อมาเจริโคได้เข้ารอบคัดเลือกหาผู้ท่าชิงอันดับ 1 ในแมตช์ 3 เส้า โดยมีบาทิสตา และแรนดี ออร์ตัน ร่วมชิงด้วย เพื่อหาผู้ชนะไปชิงแชมป์โลกเฮฟวี่เวทกับซีนาในอาร์มาเกดดอน (2008) สุดท้ายเจริโคก็ไม่ชนะ[15]
เจริโคได้มีเรื่องกับนักมวยปล้ำในตำนาน ได้แก่ ริกกี สตีมโบต, จิมมี สนูกกา, ร็อดดี ไพเพอร์ และริก แฟลร์ จนทำให้ต้องเจอกันในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 25 โดยมีริก แฟลร์ยีนอยู่ข้างเวที ผลสรุปคือเจริโคเอาชนะตำนานทั้ง 3 คนไปได้[16] ในเดือนเมษายน 2009 เจริโคก็ได้ถูกดราฟท์ตัวไปอยู่สแมคดาวน์[17] เขาได้มีเรื่องกับสตีมโบตอีกจนทำให้ต้องเจอกันในแบคแลช (2009) ผลปรากฏว่าเจริโคชนะไปได้[18] ในเอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2009) เจริโคสามารถคว้าแชมป์อินเตอร์สมัยที่9 ได้จากเรย์ มิสเตริโอ โดยการใช้กลโกงดึงหน้ากากของเรย์ออก[19] ในเดอะแบช (2009)ได้เสียแชมป์คืนให้กับเรย์ คืนเดียวกันก็สามารถคว้าแชมป์แท็กทีมยูนิฟายด์ร่วมกับเอดจ์มาได้[20] แต่ก็ครองแชมป์ได้เดือนเดียวเอดจ์ก็มีอาการบาดเจ็บที่หัวเข่าต้องพักการปล้ำไป ส่วนเจริโคก็พูดจาถากถางเอดจ์ว่าเป็นจุดอ่อนของทีม และก็เอาบิ๊กโชว์มาเป็นคู่แทนและได้ตั้งชื่อทีมว่าเจริ-โชว์ โดยเอดจ์บอกกับเจริโคว่าถ้าเขาหายเมื่อไหร่เขาจะกลับมาแก้แค้น[21] ในทีแอลซี (2009) เจริ-โชว์เสียแชมป์ให้ดิ-เจเรเนชั่น เอ็กซ์ (ทริปเปิลเอชและชอว์น ไมเคิลส์) ในTLC Match
เจริโคได้เข้าร่วมปล้ำแมตช์รอยัลรัมเบิล (2010)ออกมาลำดับที่28 แต่ก็ไม่ได้ชนะ โดยถูกเอดจ์ซึ่งกลับมาล้างแค้นจับเหวี่ยงออกจากเวที ในอิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ (2010) เจริโคได้คว้าแชมป์โลกเฮฟวี่เวทจากแมตช์อิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 26 เจริโคสามารถป้องกันแชมป์จากเอดจ์ที่เป็นผู้ชนะรอยัลรัมเบิลเอาไว้ได้ แต่ว่าในสแมคดาวน์ เพียง 5 วัน เอดจ์ได้ออกมาลอบทำร้ายเจริโค และแจ็ก สแวกเกอร์ได้มาขอใช้สิทธิ์กระเป๋ามันนีอินเดอะแบงก์ชิงแชมป์โลกเฮฟวี่เวทกับเจริโคในสภาพไม่พร้อมปล้ำ ทำให้เสียแชมป์ให้กับสแวกเกอร์ ต่อมาเจริโคก็ได้ถูกดราฟท์ตัวกลับมารอว์[22] ในซัมเมอร์สแลม (2010) เจริโคได้ร่วมปล้ำแทกทีมกับทีม WWE นำทีมโดย จอห์น ซีนา เพื่อล้างแค้นเดอะเน็กซัส ในรูปแบบแทกทีม 7 ต่อ 7 แต่สมาชิกในทีมอย่างเดอะเกรทคาลีถูกเน็กซัสลอบทำร้ายจนมาร่วมปล้ำไมได้ ทำให้ต้องหาคนมาแทน โดยซีนาได้เลือกแดเนียล ไบรอัน อดีตกลุ่มเน็กซัส มาร่วมทีม WWE และสามารถเอาชนะกลุ่มเน็กซัสได้[23] ในรอว์ 27 กันยายน เจริโคได้ถูกแรนดี ออร์ตันเตะเข้าที่ศีรษะจบเจ็บตามบท แท้จริงแล้วเขาต้องไปทัวร์คอนเสิร์ตกับวงฟอซซี ทำให้ต้องอำลาวงการมวยปล้ำ[24]
การกลับมา WWE ครั้งที่ 2
[แก้]ในปี 2012 เจริโคได้กลับมา WWE หลังจากหายไปเป็นเวลา 1 ปีกว่า โดยกลับมาในรอว์ 2 มกราคม มาถึงก็เดินขึ้นเวทีทักทายคนดูยิ้มแย้มมากขึ้นเวทีไปก็พยายามเรียกเสียงเชียร์พอจะหบิบไมค์พูด สุดท้ายเจอริโคกลับไม่พูดอะไร และเดินกลับไปหลังเวทีท่ามกลางเสียโห่ของคนดู ในรอว์ 16 มกราคม เจอริโคได้ขึ้นปล้ำครั้งแรกหลังจากกลับมาใน WWE โดยปล้ำแทกทีม 6 คนจับคู่กับ ซีเอ็ม พังก์ (แชมป์ WWE) และแดเนียล ไบรอัน ระหว่างแมตช์พังก์แทกเอาเจอริโคเข้ามาปล้ำแต่กลับไม่ปล้ำแล้วแทกเอาไบรอันและเดินหนีกลับไปหลังเวที ในรอว์ 23 มกราคม เจริโคออกมาจัดรายการ Highlight Reel โดยบอกว่า ในรอยัลรัมเบิล มันจะเป็นวาระสุดท้ายของโลก" ในรอยัลรัมเบิล (2012) เจริโคได้เข้าร่วมแมตช์รอยัลรัมเบิล โดยออกมาเป็นลำดับที่29 แต่ก็ถูกเหวี่ยงออกจากเวทีเป็นคนสุดท้ายโดยเชมัส[25] ในรอว์คืนต่อมา ได้มาก่อกวนการปล้ำของซีเอ็ม พังก์ โดยหลังแมตช์เจริโคขึ้นมาใส่ท่า Codebreaker เล่นงานพังก์ก่อนจะกลับจากไป ในอิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ (2012) ได้ปล้ำแมตช์อิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ ชิงแชมป์ WWE แต่ไม่สำเร็จเพราะต้องออกจากการแข่งขันจากการถูกพังก์เตะออกนอกกรงและหัวไปกระแทกกับกล้องนอกสนามจนกรรมการส่งสัญญาณตัว X ให้เจอริโคออกจากแมตช์ทันที[26] ในรอว์คืนต่อมา ได้ชนะแบทเทิลรอยัล ทำให้ได้เป็นผู้ท้าชิงอันดับ 1 ในการชิงแชมป์ WWE กับซีเอ็ม พังก์ ในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 28 ในรอว์สัปดาห์ต่อมา เจริโคได้ออกมาลอบทำร้ายพังก์ จับสแลมใส่พื้นโลหะแล้วก็ใส่ Liontamer ก่อนที่กรรมการจะรีบออกมาห้ามและท้าพังก์ ว่าใครคือ "สุดยอดที่สุดของโลก" ต่อมาเจริโคได้พูดด่าถึงครอบครัวของพังก์โดยเจอริโคได้พูดด่าพ่อของพังก์ ว่าเป็นคนติดเหล้า, น้องสาวติดยา และได้พูดด่าแม่ของพังก์โดยบอกว่าพ่อแม่ของพังก์แต่งงานกันหลังจากที่คลอดพังก์เรียบร้อยแล้ว ในเรสเซิลเมเนีย แมตช์ชิงแชมป์ WWE โดยถ้าพังก์ถูกปรับแพ้ฟาล์วจะเสียแชมป์ให้กับเจริโคทันที สุดท้ายเจริโคไม่สามารถคว้าแชมป์มาได้[27] ในเอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2012) ได้ขอรีแมตช์ชิงแชมป์ในแมตช์ชิคาโกสตรีทไฟท์ สุดท้ายเจริโคก็ยังไม่สามารถคว้าแชมป์มาได้[28]
ในโอเวอร์เดอะลิมิต (2012) ได้ปล้ำชิงแชมป์โลกเฮฟวี่เวท 4 เส้ากับ เชมัส, อัลเบร์โต เดล รีโอ และแรนดี ออร์ตัน แต่ก็ไม่สามารถคว้าแชมป์มาได้[29] ต่อมาเจริโคได้ก่อเหตุเตะธงชาติบราซิลระหว่างแมตช์ ในเฮาส์โชว์ที่ WWE ไปเยือนกรุงเซาเปาโล ประเทศบราซิล ทำให้ WWE ตัดสินใจสั่งแบนเจริโคอย่างไม่มีกำหนด และต้องแถลงการขอโทษแฟนๆ ชาวบราซิลและรัฐบาลบราซิลด้วย WWE ไปทัวร์ที่เซาเปาโล เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม เจริโคได้แสดงความหยาบคายต่อธงชาติบราซิลในระหว่างแมตช์กับซีเอ็ม พังก์ ระหว่างแมตช์ดังกล่าว เจริโคเจอธงชาติบนเวที เขาจึงหยิบธงขึ้นมาเตะ ทำให้ทีมงานต้องรีบมาหยุดแมตช์และให้เจริโคขอโทษต่อแฟนๆ ก่อนที่จะดำเนินแมตช์ต่อไป เมื่อจบแมตช์แล้วทีมงาน WWE จึงได้สั่งแบนเจอริโคอย่างไม่มีกำหนดทันที[30][31] หลังจากพ้นโทษแบนในรอว์ 25 มิถุนายน เจอริโคได้กลับมาแล้วก็ไล่จอห์น ซีนา บอกว่าคืนนี้เป็นคืนที่จะต้องต้อนรับการกลับมาของชั้นไม่ใช่ให้แกมาเล่นตลกโชว์ ซีนาบอกตอนนี้บิ๊กโชว์มันกำลังคลั่งมันจะเข้าร่วมแมตช์มันนีอินเดอะแบงก์ เพราะฉะนั้นชั้นจึงขอเข้าร่วมแมตช์นี้ด้วยเพื่อหยุดยั้งบิ๊กโชว์ เจริโคบอกว่าแกจะเล่นบทฮีโร่ไปถึงไหนแมตช์มันนีอินเดอะแบงก์มันไม่ใช่เรื่องเล่นๆ มันเป็นแมตช์ที่โหดและอาจทำให้ต้องยุติอาชีพได้เลย วิกกี เกร์เรโรออกมาและบอกว่าจะมีแมตช์มันนีอินเดอะแบงก์ สองแมตช์ทั้งรอว์และสแมคดาวน์ โดยฝั่งรอว์จะอนุญาตให้เฉพาะอดีตแชมป์ WWE เท่านั้นที่จะมีสิทธิ์เข้าร่วมผู้ที่จะได้เข้าร่วมก็คือ บิ๊กโชว์, เคน, เจริโค และซีนา[32] ในมันนีอินเดอะแบงก์ (2012) ซีนาก็คว้ากระเป๋าสิทธิ์ชิงแชมป์ WWE ไปได้[33]
ในรอว์ 16 กรกฎาคม เจริโคออกมาขัดจังหวะดอล์ฟ ซิกก์เลอร์ แต่ยังไม่ทันพูดอะไร ซิกก์เลอร์ก็ชิงด่าก่อนทันที เจริโครำคาญเลยใส่ท่า Codebreaker ใส่ซิกก์เลอร์แล้วเดินจากไป ในสแมคดาวน์ 17 สิงหาคม 2012 เจริโคได้เจอกับอัลเบร์โต เดล รีโอ โดยก่อนเริ่มปล้ำซิกก์เลอร์เอากระเป๋ามาฟาดใส่หัวเจริโค จากนั้นซิกก์เลอร์ก็เอารถชั้นวางของมาชนซ้ำอีกจนเจริโคบาดเจ็บที่ท้อง แต่ก็ยังออกมาปล้ำได้แบบฝืนๆ สุดท้ายเจริโคก็แพ้ด้วยท่า Enzuigiri โดยการก่อกวนจากซิกก์เลอร์ หลังแมตช์เดล รีโอจับเจริโคมาใส่ Cross ArmBreaker โดยที่ซิกก์เลอร์ขึ้นมาหัวเราะเยาะเย้ย แต่เชมัสออกมาช่วยไล่เดล รีโอกับซิกก์เลอร์ไป ในซัมเมอร์สแลม (2012) เจริโคได้เอาชนะซิกก์เลอร์ไปได้[34] ในรอว์คืนต่อมา เจริโคได้เจอกับซิกก์เลอร์ โดยผู้จัดการทั่วไปของรอว์ เอเจ ลี ได้มีข้อแม้ว่าถ้าเจอริโคแพ้จะต้องถูกไล่ออก และถ้าซิกก์เลอร์แพ้ก็จะเสียกระเป๋ามันนีอินเดอะแบงก์ให้เจอริโค[35] สุดท้ายเจริโคก็เป็นฝ่ายแพ้ ทำให้ต้องถูกไล่ออกจาก WWE ซึ่งแท้จริงแล้ว เจริโคจะต้องไปร่วมทัวร์คอนเสิร์ตกับวงฟอซซี หลังแมตช์เจริโคเอากระเป๋ามากระทุ้งใส่ท้องและตีใส่หลังของซิกก์เลอร์ และปิดท้ายด้วยท่า Codebreaker จากนั้นก็ได้อำลาแฟนๆ ในสนามก่อนจาก[36] ในรอยัลรัมเบิล (2013) เจริโคได้เซอไพรส์แฟนๆ โดยมาขึ้นปล้ำรอยัลรัมเบิลเป็นคนที่2 ต่อจากซิกก์เลอร์คนที่1 สุดท้ายเจริโคถูกกำจัดโดยซิกก์เลอร์[37] ต่อมาได้เปิดศึกกับฟันดังโก โดยในรอว์ 18 มีนาคม เจริโคให้สัมภาษณ์อยู่หลังเวที ฟันดังโกเข้ามาขัดจังหวะ บอกว่าเขาชื่อ Fannnnn Dangggg Goooooo แต่เจริโคล้อเลียนชื่อของฟันดังโก[38] ในสแมคดาวน์ 22 มีนาคม เจริโคมีแมตช์กับแจ็ก สแวกเกอร์ และพยายามจะใส่ Lionsalz แต่ฟันดังโกโดดขึ้นมาเตะก้านคอ ก่อนจะเป็นสแวกเกอร์กลับมาใส่ Swagger bomb จับกดชนะไป หลังแมตช์ถูกฟันดังโกลอบทำร้าย[39] ในรอว์ 25 มีนาคม เจริโคได้ออกมาอัดฟันดังโกที่กำลังเปิดตัว ทำให้ฟันดังโกหนีไป หลังจากเจริโคชนะซิกก์เลอร์ไปได้ บิ๊กอีมาลอบทำร้ายเจริโค ฟันดังโกออกมาต่อยเจริโคซ้ำอีกเป็นชุด ต่อด้วยท่าไม้ตาย Diving Legdrop คืนเดียวกันเจริโคให้สัมภาษณ์ว่าเขาไปคุยกับวิกกีมาแล้ว และขอให้จัดแมตช์เจอกับฟันดังโกในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 29[40] สุดท้ายเจอริโคก็แพ้ไป[41] แต่เจอริโคก็สามารถเอาชนะฟันดังโกมาได้ในเอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2013)[42] ในรอว์ 27 พฤษภาคม เจริโคได้จัดรายการ Highlight Reel โดยแขกรับเชิญคือพอล เฮย์แมน เจริโคบอกจะวัดความเป็นสุดยอดที่สุดในโลกของจริงไปเลย ก่อนจะเอ่ยปากขอท้าเจอกับซีเอ็ม พังก์ในเพย์แบ็ค (2013)[43] ในเพย์แบ็กได้แพ้ให้กับพังก์[44] ต่อมาเจริโคได้เปิดศึกกับไรแบ็ก[45] และได้มีแมตช์ในมันนีอินเดอะแบงก์ (2013) แต่เจริโคแพ้ไป[46] ในสแมคดาวน์ 19 กรกฎาคม เจริโคได้แพ้ให้กับเคอร์ติส แอ็กเซล หลังแมตช์ไรแบ็กออกมาเยาะเย้ยและเล่นงานเจอริโค[47] จากนั้นเจอริโคก็หายไปทัวร์คอนเสิร์ตอีกครั้ง[48][49]
ในรอว์ 30 มิถุนายน 2014 เจริโคได้กลับมาจัดการ Codebreaker ใส่เดอะมิซ ก่อนจะบอกว่ารู้สึกดีเหลือเกิน รอเวลามานานแล้วที่จะได้พูดว่า RAW is... แต่เดอะไวแอ็ตต์แฟมิลี (เบรย์ ไวแอ็ตต์, ลู้ก ฮาร์เปอร์ และอีริก โรแวน) โผล่มารุมเล่นงานเจริโค[50] ในรอว์ 7 กรกฎาคม เจริโคมีแมตช์ชนะเดอะมิซไปได้ด้วยท่า Walls of Jericho หลังแมตช์เบรย์โผล่มานั่งเก้าอี้โยกที่ทางเดิน และก็บอกว่าเจริโคน่าจะเลิกพูดมากได้แล้ว เพราะการกระทำสำคัญกว่าคำพูด เจริโคก็บอกว่าเห็นด้วย การกระทำสำคัญกว่าการพูด และตอนนี้แกก็อยู่คนเดียวพอดี จะไปกระทืบแกให้ตกเก้าอี้เดี๋ยวนี้แหละ เจริโคเดินไปหาเบรย์ แต่ฮาร์เปอร์กับโรแวนก็มายืนอยู่ข้างหลังเบรย์ ทำให้เจริโคไม่เข้าไป ในแบทเทิลกราวด์ (2014) เจริโคเอาชนะเบรย์ไปได้[51] ก่อนจะรีแมตช์กันในซัมเมอร์สแลม (2014) โดยเจริโคแพ้[52] ในไนท์ออฟแชมเปียนส์ (2014) เจริโคได้ปล้ำแพ้แรนดี ออร์ตัน[53][54] ในสแมคดาวน์ 14 พฤศจิกายน เจริโคได้จัดรายการ Highlight Reel โดยดิออธอริตีเป็นแขกรับเชิญ[55] ต่อมาในรอว์ 15 ธันวาคม เจริโคได้มาทำหน้าที่เป็นผู้จัดการทั่วไปรับเชิญ และพอล เฮย์แมนก็ออกมาขัดจังหวะ เจริโคเลยจัดแมตช์ให้ตัวเองเจอกับเฮย์แมนแบบ Street Fight แต่เฮย์แมนเรียกบร็อก เลสเนอร์ออกมาช่วย และจับเจริโคใส่ F-5[56]
ในเดือนมกราคม 2015 เจริโคได้เผยในทวิตเตอร์ว่าสัญญาของเขาที่ทำไว้กับ WWE คือขึ้นปล้ำเฮาส์โชว์ 16 โชว์ในวันที่ 10 มกราคม ถึง 1 มีนาคม โดยไม่ปรากฏตัวออกจอทีวี[57] ก่อนที่จะเซ็นสัญญาขึ้นปล้ำอีก 19 โชว์ที่ไม่ได้ออกทีวีระหว่างเดือนมิถุนายนและสิงหาคม[58] ในเดือนพฤษภาคม ได้เป็นผู้ดำเนินรายการทัฟ อีนัฟซีซั่นที่6[59] วันที่ 4 กรกฎาคม ในโชว์พิเศษทาง WWE Network เจริโคได้กลับมาขึ้นปล้ำถ่ายทอดสดอีกครั้งโดยเอาชนะเนวิลล์ไปได้[60] ในไนท์ออฟแชมเปียนส์ (2015) เจริโคได้เซอร์ไพรส์มาร่วมปล้ำแทกทีม 6 คนกับดีน แอมโบรสและโรแมน เรนส์ แพ้ให้กับไวแอ็ตต์แฟมิลี[61] ในWWE Live from Madison Square Gardenได้แพ้ในการชิงแชมป์อินเตอร์สมัยที่10กับเควิน โอเวนส์[62]
ในเดือนมกราคม 2016 เจริโคได้รีเทิร์นและประกาศเข้าร่วมแมตช์รอยัลรัมเบิล (2016)[63] โดยขึ้นมาเป็นลำดับที่6 แต่ไม่ได้ชนะ[64] ต่อมาได้เปิดศึกกับเอเจ สไตส์ โดยผลัดกันแพ้-ชนะ 1-1 ทำให้ต้องตัดสินกันในฟาสต์เลน (2016) ซึ่งเจริโคเป็นฝ่ายแพ้[65][66][67][68][69][70] คืนต่อมาได้ร่วมทีมกับเอเจในนาม Y2AJ[71][72] และได้ชิงแชมป์แทกทีมกับเดอะนิวเดย์ ในรอว์ 7 มีนาคม แต่ไม่สำเร็จ หลังแมตช์ได้หักหลังเอเจและเป็นฝ่ายอธรรมไปอีกครั้งนับตั้งแต่ปี 2012 ต่อมาเอเจได้ขอท้าเจอกับเจริโคในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 32 โดยเจริโคเอาชนะไปได้[73] ต่อมาได้เปิดศึกกับดีน แอมโบรส แต่ก็แพ้ให้แอมโบรสทั้งในเพย์แบ็ก (2016) และเอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2016)[74]
วันที่ 19 กรกฎาคม 2016 เจริโคได้ถูกดราฟท์ไปรอว์ ต่อมาได้มีบทเป็นเพื่อนรักกับแชมป์ยูนิเวอร์แซล WWE เควิน โอเวนส์[75][76] ในรอว์ 9 มกราคม เจริโคได้แชมป์ยูเอสเป็นสมัยแรกจากโรแมน เรนส์ในแฮนดิแคป 2 รุม 1 ร่วมกับโอเวนส์ และเป็นการได้แชมป์เส้นแรกในรอบหลายปี[77] และเป็นแกรนด์สแลมคนที่7 ในรูปแบบใหม่[78] ในรอยัลรัมเบิล (2017) ได้เข้าร่วมแมตช์รัมเบิลเป็นคนที่2 และสามารถอยู่ในแมตช์นานกว่าชั่วโมง ก่อนจะตกรอบในสี่คนสุดท้ายโดยเรนส์ (ทำลายสถิติในทุกๆครั้งที่เข้าร่วมมากกว่าห้าชั่วโมง)[79][80][81][82] ในรอว์ 13 กุมภาพันธ์ ได้ถูกโอเวนส์หักหลังในงานฉลอง "Festival of Friendship" ของทั้งสอง ทำให้ถูกหามส่งโรงพยาบาล[83][84] ในฟาสต์เลน (2017) เจริโคได้ออกมาก่อกวนการปล้ำของโอเวนส์จนแพ้เสียแชมป์ยูนิเวอร์แซลให้โกลด์เบิร์ก รอว์คืนต่อมาโอเวนส์ประกาศท้าชิงแชมป์ยูเอสกับเจริโคในเรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 33[85][86] และเจริโคก็เสียแชมป์หลังจากครองได้ 83 วัน[87][88] ในเพย์แบ็ก (2017)เจริโคสามารถคว้าแชมป์ยูเอสกลับคืนมาได้และได้ย้ายไปสแมคดาวน์ แต่ครองได้เพียงสองวันก็เสียแชมป์คืนให้โอเวนส์ ในสแมคดาวน์ 25 กรกฎาคม 2017 เจริโคได้เซอร์ไพรส์โดยมาร่วมชิงแชมป์ยูเอสแบบสามเส้ากับเอเจและโอเวนส์ซึ่งเอเจคว้าแชมป์ไปได้[89]
การกลับมา NJPW
[แก้]วันที่ 5 พฤศจิกายน 2017 เจริโคได้ปรากฏตัวที่ NJPW ผ่านทางเทปโดยประกาศขอท้าเจอกับเคนนี โอเมกาชิงแชมป์ IWGP United States Heavyweight Championship ในWrestle Kingdom 12 วันที่ 4 มกราคม 2018 ที่ Tokyo Dome[90][91] ซึ่งเป็นการขึ้นปล้ำนอกสังเวียน WWE ครั้งแรกของเจริโคนับตั้งแต่ปี 1999[92] นอกจากนี้ยังได้รับการยืนยันจาก Dave Meltzer (ผ่าน Twitter) และ Forbes ว่าสัญญาของเขากับ WWE ได้หมดลงแล้วทำให้สถานะของเขาเป็น "free agent"[93][94] แต่มีการเพิ่มเติมข้อมูลจาก Tokyo Sport เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องเปิดเผยว่าเจริโคไม่ได้ปล้ำฟูลไทม์กับ NJPW เขายังมีสัญญากับ WWE นอกจากนี้วินซ์ แม็กแมนยังเป็นคนอนุญาตให้เขามาปล้ำกับโอเมกาอีกด้วย[95] ใน Wrestle Kingdom 12 โอเมกาป้องกันแชมป์ไปได้แบบไม่มีกฏกติกา[96][97] 22 มกราคม 2018 เจริโคได้ร่วมรอว์ครบรอบ 25 ปี โดยปรากฏตัวที่หลังเวทีและจดชื่ออีไลแอสลง List of Jericho[98] 27 เมษายน เจริโคได้ร่วมปล้ำเกรเทสต์ รอยัลรัมเบิล 50 คนแต่ไม่ชนะ วันที่ 9 มิถุนายน ในศึก Dominion 6.9 เจริโคได้คว้าแชมป์ IWGP Intercontinental Championship จากการเอาชนะ Tetsuya Naito ทำให้เป็นคนแรกที่ได้แชมป์อินเตอร์ทั้ง WWE และ NJPW[99] ก่อนเสียคืนให้ Naito ในศึก Wrestle Kingdom 13[100]
ออลอีลิตเรสต์ลิง
[แก้]วันที่ 8 มกราคม 2019 เจริโคได้เซ็นสัญญากับสมาคมหน้าใหม่อย่าง All Elite Wrestling (AEW)[101] และได้คว้าแชมป์โลกของ AEW เป็นคนแรกในศึก AEW All Out วันที่ 31 สิงหาคม 2019[102] และได้ก่อตั้งกลุ่ม Inner Circle[103][104] และ Jericho Appreciation Society (JAS) ตามลำดับ[105] ในเดือนกันยายน 2022 เจริโคได้คว้าแชมป์โลก ROHเป็นสมัยแรกจากเกลาดีโอ คาสทาโญลีทำให้เป็นแชมป์โลกสมัยที่ 8 ในอาชีพการปล้ำและเป็นคนที่ 2 ต่อจากซีเอ็ม พังก์ที่ได้แชมป์ WWE, แชมป์โลกเฮฟวี่เวท, แชมป์โลก AEW และแชมป์โลก ROH[106]
ผลงานอื่นๆ
[แก้]คริส เจริโค | |
---|---|
บนเวทีคอนเสิร์ตกับวงฟอซซี | |
ข้อมูลพื้นฐาน | |
ชื่อเกิด | คริสโตเฟอร์ คีท เออร์วิน |
รู้จักในชื่อ | Moongoose McQueen |
เกิด | 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970 |
ที่เกิด | Manhasset, รัฐนิวยอร์ก, U.S. |
แนวเพลง | เฮฟวีเมทัล, ฮาร์ดร็อก, แกลมเมทัล |
อาชีพ | นักดนตรี, นักแต่งเพลง, นักแสดง |
เครื่องดนตรี | ร้อง, เบส, เปียโน |
ช่วงปี | 1999 - ปัจจุบัน |
ค่ายเพลง | Megaforce, ASH, Riot Entertainment, Century Media |
เว็บไซต์ | chrisjericho |
เขายังมีผลงานอื่นๆ ดังนี้
ผลงานเพลง
[แก้]แดนซิงวิทเดอะสตาส์
[แก้]สัปดาห์ # | เต้นรำ/เพลง/นักดนตรี | คะแนน | ผลการตัดสิน | ||
Inaba | Goodman | Tonioli | |||
1 | Cha-Cha-Cha/"Should I Stay or Should I Go" | 7 | 6 | 6 | ไม่ถูกโหวตออก |
2 | Quickstep/"I Got Rhythm" | 8 | 7 | 8 | Safe |
3 | Rumba/"Let It Be" | 7 | 7 | 7 | Last To Be Called Safe |
4 | Paso Doble/"In the Hall of the Mountain King" | 8 | 7 | 8 | Safe |
5 | Viennese Waltz/"America The Beautiful" | 9 | 8 | 9 | Last To Be Called Safe |
6 | Tango/"Don't Stop Believin" | 7 | 8 | 7 | ถูกโหวตออก |
ผลงานแสดง
[แก้]ปี | เรื่อง | รับบท | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
2006 | Android Apocalypse | TeeDee | |
2009 | Albino Farm | Levi | |
2009 | Bloodstained Memoirs | Himself | Documentary |
2010 | MacGruber | Frank Korver | |
2015 | Sharknado 3: Oh Hell No! | Bruce | |
2016 | Nine Legends | Himself |
ปี | เรื่อง | รับบท | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
2009 | Aaron Stone | Billy Cobb | "Xero Control" (season 1: episode 11) |
2009 | Z Rock | Himself | "Z Wrestler" (season 2: episode 6) |
2010 | Downfall | Himself | Host |
2011 | Dancing with the Stars | Himself | Season 12 contestant |
2011 | Cubed | Himself | |
2013 | Robot Combat League | Himself | Host |
2013 | But I'm Chris Jericho! | Himself | Lead |
2013 | Talking Dead | Himself | Season 3 episode 4 |
2014 | @midnight | Himself | Episode 47 |
2015 | WWE Tough Enough | Himself | Host |
2016 | Hollywood Game Night | Himself | |
2016 | Talking Dead | Himself | Season 5 episode 19 |
2016 | Whose Line Is It Anwyay? | Himself | Season 13 episode 13 |
2016 | The Eric Andre Show | Himself |
ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค
[แก้]ปี | เรื่อง | รับบท | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
2015 | Live! With Chris Jericho | Himself | Host |
แชมป์และรางวัล
[แก้]มวยปล้ำอาชีพ
[แก้]- All Elite Wrestling
- AEW World Championship (1 time, inaugural)[107][108]
- FTW Championship (1 time)
- AEW Dynamite Awards (2 times)
- Bleacher Report PPV Moment of the Year (2021) – Stadium Stampede match (The Elite vs The Inner Circle) at Double or Nothing[109]
- Biggest Beatdown (2021) – The Inner Circle jumps Orange Cassidy on Dynamite[109]
- The Baltimore Sun
- Feud of the Year (2008) vs. Shawn Michaels[110]
- Canadian Pro-Wrestling Hall of Fame
- Class of 2023[111]
- Canadian Rocky Mountain Wrestling
- Canadian Wrestling Connection
- Consejo Mundial de Lucha Libre
- Extreme Championship Wrestling
- International Wrestling Alliance
- New Japan Pro-Wrestling
- Pro Wrestling Illustrated
- Faction of the Year (2021) – with The Inner Circle[127]
- Feud of the Decade (2000s) vs. Shawn Michaels[128]
- Feud of the Year (2008) vs. Shawn Michaels[15]
- Feud of the Year (2021) vs. MJF[127]
- Most Hated Wrestler of the Year (2002, 2008)[129]
- Ranked No. 2 of the top 500 singles wrestlers in the PWI 500 in 2009[130]
- Ring of Honor
- Rolling Stone
- Ranked No. 3 of the 10 best WWE wrestlers of 2016[132]
- Sports Illustrated
- Ranked No. 5 of the top 10 male wrestlers in 2019[133]
- World Championship Wrestling
- World Wrestling Federation/Entertainment/WWE
- Undisputed WWF Championship (1 time)[b][138][139]
- World Heavyweight Championship (3 times)[140][141][142][143]
- WCW/World Championship (2 times)[144][145][146]
- WWF/WWE Intercontinental Championship (9 times)[147][148]
- WWE United States Championship (2 times)[149][150]
- WWF European Championship (1 time)[151][152]
- WWF Hardcore Championship (1 time)[153][154]
- WWE Tag Team Championship (2 times) – with Edge (1) and Big Show (1)[c][155][156]
- WWF/World Tag Team Championship[d][157] (5 times) – with Chris Benoit (1), The Rock (1), Christian (1), Edge (1), and Big Show (1)[158]
- Bragging Rights Trophy (2009) – with Team SmackDown (Kane, Matt Hardy, Finlay, R-Truth, David Hart Smith, and Tyson Kidd)[159]
- Queen's Cup
- WWF Undisputed Championship Tournament (2001)
- Fourth Grand Slam Champion[160]
- Ninth Triple Crown Champion[161]
- Slammy Award (3 times)
- Extreme Moment of the Year (2014) Executing a crossbody on Bray Wyatt from the top of a steel cage on Raw[162]
- Superstar of the Year (2008)[163]
- Tag Team of the Year (2009) – with Big Show[164]
- Wrestle Association "R"
- World Wrestling Association
- Wrestling Observer Newsletter
- Wrestler of the Year (2008, 2009, 2019)[171][172]
- Best on Interviews (2003, 2008, 2009, 2019)[171]
- Best on Interviews of the Decade (2000s)[173]
- Feud of the Year (2008) vs. Shawn Michaels[171]
- Pro Wrestling Match of the Year (2008) vs. Shawn Michaels in a ladder match at No Mercy[171]
- Most Underrated Wrestler (1999, 2000)[171]
- Readers' Favorite Wrestler (1999)[171]
- United States/Canada MVP (2019)[172]
- Most Charismatic (2019)[172]
- Best Box Office Draw (2019)[172]
- Best Pro Wrestling Book (2011) for Undisputed: How to Become the World Champion in 1,372 Easy Steps[174]
- Wrestling Observer Newsletter Hall of Fame (Class of 2010)[175]
อื่นๆ
[แก้]- The Order of the Buffalo Hunt of the province of Manitoba, awarded for his "championship achievements in sports and commitments to underprivileged children". (2004)[176][177]
- Queen Elizabeth II Platinum Jubilee Medal of the province of Manitoba, for his work with various local charities. (2023)[178]
- In 2004, Jericho received the Keys to the City of Winnipeg.[179]
- On March 12, 2023, the city of Winnipeg renamed the street he grew up on into "Chris Jericho Way".[178]
นัดที่มีเดิมพัน
[แก้]ผู้ชนะ(เดิมพัน) | ผู้แพ้(เดิมพัน) | สถานที่ | ศึก | วันที่ | บันทึก |
---|---|---|---|---|---|
Corazón de León (ผม) | Cro-Magnon (ผม) | Mexico City, Distrito Federal | CMLL Live event | May 30, 1993 | |
Chris Jericho (ชิงแชมป์) | Juventud Guerrera (หน้ากาก) | Daly City, California | SuperBrawl VIII | 22 กุมภาพันธ์ 1998 | [9] |
Chris Jericho (ผม) | Kevin Nash (ผม) | Grand Rapids, Michigan | Raw | August 18, 2003 | |
John Cena (สัญญา/ชิงแชมป์) | Chris Jericho (สัญญา) | Hampton, Virginia | Raw | August 22, 2005 | |
Rey Mysterio (หน้ากาก) | Chris Jericho (ชิงแชมป์) | Sacramento, California | The Bash | June 28, 2009 | |
Dolph Ziggler (Money in the Bank) | Chris Jericho (สัญญา) | Fresno, California | Raw | August 20, 2012 |
หมายเหตุและอ้างอิง
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]- ↑ Despite still using the NWA initials, Consejo Mundial de Lucha Libre is no longer a member of the National Wrestling Alliance. As a result, the NWA doesn't recognize or sanction this championship.
- ↑ Jericho's reign occurred after unifying the World Championship (formerly the WCW Championship) and the WWF Championship, making him the first-ever Undisputed WWF Champion.
- ↑ After Edge suffered an injury, Jericho chose Big Show as a replacement partner to hold the championships with. WWE recognizes this occurrence as two separate reigns for Jericho.
- ↑ Jericho's reigns with Edge and Big Show were as Unified WWE Tag Team Champions.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 "Chris Jericho profile". WWE. สืบค้นเมื่อ October 17, 2016.
- ↑ Clevett, Jason (October 12, 2007). "Review: A Lion's Tale worth pulling". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ January 18, 2019.
- ↑ "Jericho loses roots". Slam! Sports. สืบค้นเมื่อ September 5, 2019.
- ↑ 4.0 4.1 "Chris Jericho biography". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ January 18, 2019.
- ↑ John, Milner; Richarad Kamen. "Chris Jericho bio". SLAM Wrestling. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-30. สืบค้นเมื่อ 2009-07-21.
- ↑ Young, Adria (January 9, 2015). "WWE Superstar Chris Jericho Will Beat the Shit Out of You if You Don't Listen to His Band". Vice. สืบค้นเมื่อ September 13, 2016.
- ↑ Jericho, Chris; Fornatale, Peter Thomas (2007). A Lion's Tale: Around the World in Spandex. Grand Central Publishing.
- ↑ "Ministry of Gossip". Los Angeles Times.
- ↑ 9.0 9.1 "SuperBrawl 1998 Results". Pro Wrestling History. สืบค้นเมื่อ 2008-06-15.
- ↑ "WWE Armageddon 2007". PWWEW.net. สืบค้นเมื่อ 2008-06-15.
- ↑ Plummer, Dale; Tylwalk, Nick (2008-01-28). "Cena wins Rumble in surprise return". SLAM! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-18. สืบค้นเมื่อ 2008-06-15.
- ↑ Tello, Craig (2008-09-07). "Worst night, best night". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2008-09-08.
- ↑ "Ch-ch-ch-ch-changes". World Wrestling Entertainment. 2008-11-04. สืบค้นเมื่อ 2008-11-04.
- ↑ "2008 Slammy Awards". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2008-12-16.
- ↑ 15.0 15.1 "Feud of the Year". Pro Wrestling Illustrated. 30 (3): 76–77. 2009.
- ↑ Plummer, Dale (2009-04-06). "WrestleMania 25: HBK-Undertaker steals the show". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-06. สืบค้นเมื่อ 2009-04-06.
- ↑ Plummer, Dale (2009-04-14). "RAW: Drafting a fresh start for the WWE". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-22. สืบค้นเมื่อ 2009-04-14.
- ↑ Vermillion, James (2009-04-26). "Results:Consider "The Dragon" slain".
- ↑ Burdick, Michael (2009-06-07). "Results: Dethroned in disgrace".
- ↑ Elliot, Brian. "Mysterio & Jericho save The Bash from wash-out". Slam Wrestling. Canadian Online Explorer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-19. สืบค้นเมื่อ 2009-08-31.
- ↑ Sitterson, Aubrey (2009-07-13). "Lean, Green hosting machine". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2009-08-31.
- ↑ "Mix & matches". World Wrestling Entertainment. 2010-04-26. สืบค้นเมื่อ 2010-04-26.
- ↑ "Nexus or against us?". World Wrestling Entertainment. 2010-07-19. สืบค้นเมื่อ 2010-07-19.
- ↑ Caldwell, James (2010-09-27). "Caldwell's WWE Raw results 9/27: Complete "virtual time" coverage of Raw le ading to Hell in a Cell PPV - Randy Orton vs. Chris Jericho". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 2011-02-18.
- ↑ Caldwell, James. "Caldwell's WWE Royal Rumble report 1/29: Ongoing "virtual time" coverage of live PPV - Rumble match, Punk-Ziggler, Cena-Kane, steel cage". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 30 January 2012.
- ↑ "WWE Elimination Chamber 2012 Highlights: Chris Jericho's Injury Bad News for WWE".
- ↑ Caldwell, James. "CALDWELL'S WWE WRESTLEMANIA 28 PPV REPORT 4/1: Ongoing "virtual time" coverage of live PPV - Rock-Cena, Taker-Hunter, Punk-Jericho". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 2 April 2012.
- ↑ Meltzer, Dave. "WWE Extreme Rules live coverage from Chicago". Wrestling Observer. สืบค้นเมื่อ 29 April 2012.
- ↑ Meltzer, Dave (2012-05-20). "WWE Over the Limit live coverage from Raleigh". Wrestling Observer Newsletter. สืบค้นเมื่อ 2012-05-21.
- ↑ TMZ staff (24 May 2012). "WWE Star Chris Jericho Suspended for Denigrating Brazilian Flag". TMZ.com. สืบค้นเมื่อ 25 May 2012.
- ↑ WWE (25 May 2012). "Chris Jericho Suspended". สืบค้นเมื่อ 25 May 2012.
- ↑ "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 6/25: Ongoing "virtual-time" coverage of live Raw #995 - Cena vs. Jericho, MITB hype".
- ↑ Money in the Bank Ladder Match for a WWE Championship Contract, WWE, สืบค้นเมื่อ 2012-06-25
- ↑ "Chris Jericho def. Dolph Ziggler". WWE. 2012-08-19. สืบค้นเมื่อ 2012-08-19.
- ↑ "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 8/20: Complete "virtual-time" coverage of live Raw - Punk-Cena, Lesnar opens show, Triple H "speculation," Jericho farewell".
- ↑ "Raw update - Jericho written off TV".
- ↑ Plummer, Dale; Tylwalk, Nick (January 28, 2013). "The Royal Rumble sets up a potential WrestleMania rematch as The Rock, Cena win". SLAM! Wrestling. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-19. สืบค้นเมื่อ 6 February 2013.
- ↑ "Raw results: Undertaker & Kane honor Paul Bearer, and CM Punk makes his most despicable move yet". สืบค้นเมื่อ 19 March 2013.
- ↑ "PARKS' WWE SMACKDOWN REPORT 3/22: Ongoing "virtual time" coverage of the Friday night show, including Chris Jericho vs. Jack Swagger in a rematch from last week".
- ↑ "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 3/25: Complete "virtual-time" coverage of live Raw - Rock returns for Q&A debate with Cena, Hunter punts Barrett, latest WM29 hype".
- ↑ "CALDWELL'S WWE WRESTLEMANIA 29 PPV RESULTS: Complete "virtual-time" coverage of live PPV from MetLife Stadium - Rock-Cena II, Taker-Punk, Lesnar-Hunter, more".
- ↑ "CALDWELL'S WWE EXTREME RULES PPV RESULTS 5/19 (Hour 1): Jericho vs. Fandango starts the PPV, U.S. Title match".
- ↑ "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 5/27 (Hour 3): Ongoing "virtual-time" coverage of live Memorial Day Raw - Highlight Reel leads to Punk's return match announced, Cena vs. Axel main event".
- ↑ "CALDWELL'S WWE PAYBACK PPV RESULTS 6/16 (Hour 2): Punk vs. Jericho, New World Hvt. champion & double-turn".
- ↑ "Chris Jericho vs. Ryback".
- ↑ "CALDWELL'S WWE MITB PPV RESULTS 7/14 (Hour 2): Ziggler vs. Del Rio for the World Title, Ryback vs. Jericho".
- ↑ Parks, Greg. "PARKS' WWE SMACKDOWN REPORT 7/19: Complete coverage of Friday night show, including a new Smackdown GM, Jericho vs. Axel for Intercontinental Title". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 20 July 2013.
- ↑ "WWE NEWS: Jericho says good-bye after wrapping up 2013 run". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 20 July 2013.
- ↑ "WWE.com Exclusive interview: Chris Jericho talks retirement and responds to Triple H". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-01-19. สืบค้นเมื่อ 2017-04-27.
- ↑ Caldwell, James (30 June 2014). "Caldwell's WWE Raw Results 6/30: Ongoing "virtual-time" coverage of the Big Reset Raw post-Money in the Bank". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 30 June 2014.
- ↑ "CALDWELL'S WWE BATTLEGROUND PPV REPORT 7/20: Complete "virtual-time" coverage of live PPV – Cena defends WWE Title, IC Title battle royal, Usos vs. Wyatts Tag Title match, more". Pro Wrestling Torch. 2014-07-20. สืบค้นเมื่อ 2014-07-20.
- ↑ "CALDWELL'S WWE SUMMERSLAM PPV REPORT 8/17: Complete "virtual-time" coverage of Cena vs. Lesnar". Pro Wrestling Torch. 2014-08-17. สืบค้นเมื่อ 2014-08-17.
- ↑ "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 9/8: Complete "virtual-time" coverage of Raw vs. NFL Week 1 – steel cage opener, Summerslam re-match, Jerry Springer, Cena-Heyman, more". Pro Wrestling Torch. 2014-09-08. สืบค้นเมื่อ 2014-09-08.
- ↑ "CALDWELL'S WWE NOC PPV REPORT 9/21: Complete "virtual-time" coverage of live PPV – Lesnar vs. Cena". Pro Wrestling Torch. 2014-09-21. สืบค้นเมื่อ 2014-09-21.
- ↑ "PARKS'S WWE SMACKDOWN REPORT 11/14: Ongoing "virtual time" coverage of Friday night show, including The Authority on Chris Jericho's Highlight Reel". Pro Wrestling Torch. 2014-11-14. สืบค้นเมื่อ 2014-11-14.
- ↑ "CALDWELL'S WWE RAW RESULTS 12/15: Complete "virtual-time" coverage of live Raw – TLC fall-out, Jericho GM for the Night, Lesnar returns, Steel Cage main event, more". Pro Wrestling Torch. 2014-12-15. สืบค้นเมื่อ 2014-12-15.
- ↑ "Chris Jericho on Twitter: "Signing my new #WWE contract!"". Twitter.com. 2015-01-11. สืบค้นเมื่อ 2015-03-05.
- ↑ "Chris Jericho Announces WWE Return, Details On Which Shows He's Working And Why, Will There Be Another Network Podcast?". Wrestlezone. 2015-05-06. สืบค้นเมื่อ 2015-05-06.
- ↑ "Hulk Hogan, Chris Jericho, Paige and Daniel Bryan headline new season of WWE Tough Enough". WWE.com. 2015-05-07. สืบค้นเมื่อ 2015-05-07.
- ↑ Caldwell, James (July 4, 2015). "CALDWELL'S WWE NETWORK SPECIAL REPORT 7/4: Complete "virtual-time" coverage of "Beast in the East" - Lesnar's in-ring return, Owens vs. Balor for NXT Title, more". PWTorch. สืบค้นเมื่อ July 4, 2015.
- ↑ Keller, Wade (September 20, 2015). "Keller's WWE Night of Champions PPV Report 9/20". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ September 20, 2015.
- ↑ Keller, Wade (October 3, 2015). "KELLER'S WWE MSG SPECIAL REPORT 10/3: Lesnar vs. Big Show, Cena vs. Seth in a cage, Jericho vs. Owens in an IC Title match, Dudleys vs. New Day for tag titles". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ October 3, 2015.
- ↑ "Chris Jericho confronted The New Day". WWE.com. สืบค้นเมื่อ 5 January 2016.
- ↑ WWE Royal Rumble 2016: Triple H wins WWE World Heavyweight Title
- ↑ http://www.wwe.com/shows/raw/2016-01-25/wwe-raw-results-28599338/page-4
- ↑ http://www.pwtorch.com/site/2016/01/25/jan25rawresults/
- ↑ http://www.wwe.com/shows/smackdown/2016-02-04/live-smackdown-results-feb-4-2016-28643549
- ↑ http://www.wwe.com/shows/raw/2016-02-08/wwe-raw-results-28666604/page-4
- ↑ http://www.pwmania.com/spoilers-wwe-smackdown-taping-results-21116[ลิงก์เสีย]
- ↑ http://bleacherreport.com/articles/2618487-wwe-fastlane-2016-results-winners-grades-reaction-and-highlights/page/7
- ↑ http://www.wwe.com/videos/chris-jericho-aj-styles-vs-heath-slater-curtis-axel-raw-february-22-2016
- ↑ http://www.wwe.com/videos/chris-jericho-aj-styles-mark-henry-vs-new-day-smackdown-february-25-2016
- ↑ http://www.wrestlinginc.com/wi/news/2016/0307/608363/chris-jericho-turns-on-aj-styles/
- ↑ Caldwell, James. "5/9 WWE Raw Results – Caldwell's Complete Live TV Report". PWTorch.com. สืบค้นเมื่อ 10 May 2016.
- ↑ http://www.f4wonline.com/wwe-news/wwe-clash-champions-live-results-kevin-owens-vs-seth-rollins-221501
- ↑ http://www.wrestlezone.com/news/767477-wwe-raw-results-102416/
- ↑ "WWE Jan 9th 2017, Chris Jericho win US title, more". WrestleZone. สืบค้นเมื่อ January 9, 2017.
- ↑ "The new Grand Slam winners: The seven Superstars who have won every active championship". wwe.com. WWE. January 12, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-12. สืบค้นเมื่อ January 14, 2017.
- ↑ Taylor, Scott. "WWE Universal Champion Kevin Owens def. Roman Reigns (No Disqualification Match, with Chris Jericho suspended above the ring in a shark cage)". wwe.com. WWE. สืบค้นเมื่อ January 29, 2017.
- ↑ Benigno, Anthony; Taylor, Scott. "Randy Orton won the 30-Superstar Royal Rumble Match". wwe.com. WWE. สืบค้นเมื่อ January 29, 2017.
- ↑ "Royal Rumble Statistics and Facts". Smark Out Moment.
- ↑ "Full 2017 Royal Rumble Match statistics: entrants, eliminations, times and more". WWE.com. January 30, 2017. สืบค้นเมื่อ January 30, 2017.
- ↑ Keller, Wade. "KELLER'S WWE RAW REPORT 2/13: Las Vegas Festival of Friendship, Emmalina's debut, Fastlane developments, more". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ February 13, 2017.
- ↑ WWE.com Staff (February 13, 2017). "Chris Jericho taken to medical facility during Raw". WWE. สืบค้นเมื่อ February 14, 2017.
- ↑ Keller, Wade. "KELLER'S WWE RAW REPORT 2/6: Samoa Joe signs his Raw contract, Seth Rollins update, Bayley vs. Jax, Goldberg, more". pwtorch.com. สืบค้นเมื่อ February 6, 2017.
- ↑ Clapp, John (March 6, 2017). "United States Champion Chris Jericho vs. Kevin Owens". WWE. สืบค้นเมื่อ March 6, 2017.
- ↑ Clapp, John. "Kevin Owens def. United States Champion Chris Jericho". WWE. สืบค้นเมื่อ April 2, 2017.
- ↑ Powell, Jason. "Powell's WrestleMania 33 live review: Undertaker vs. Roman Reigns, Goldberg vs. Brock Lesnar for the WWE Universal Championship, AJ Styles vs. Shane McMahon, Seth Rollins vs. Triple H in an unsanctioned match". Pro Wreslting Dot Net. สืบค้นเมื่อ April 2, 2017.
- ↑ "WWE Smackdown Results – 7/25/17 (Fallout from Battleground PPV)". WrestleView. สืบค้นเมื่อ 27 July 2017.
- ↑ Currier, Joseph (November 5, 2017). "NJPW Power Struggle live results: Hiroshi Tanahashi vs. Kota Ibushi". Wrestling Observer Newsletter. สืบค้นเมื่อ November 5, 2017.
- ↑ Currier, Joseph (November 6, 2017). "Five more title matches confirmed for NJPW Wrestle Kingdom 12". Wrestling Observer Newsletter. สืบค้นเมื่อ November 6, 2017.
- ↑ Johnson, Mike; Crockett, Paul (November 5, 2017). "Chris Jericho vs. Kenny Omega set for New Japan Tokyo Dome". Pro Wrestling Insider. สืบค้นเมื่อ November 5, 2017.
- ↑ https://twitter.com/davemeltzerWON/status/927269887143112704?ref_src=twsrc%5Etfw
- ↑ https://www.forbes.com/sites/alfredkonuwa/2017/11/05/chris-jericho-vs-kenny-omega-indicates-possible-feud-between-jericho-wwe/
- ↑ "【新日本】1・4東京ドームでケニー対クリス・ジェリコ電撃決定!". Tokyo Sports (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-12. สืบค้นเมื่อ 10 November 2017.
- ↑ Currier, Joseph (December 18, 2017). "NJPW adds no DQ stipulation to Kenny Omega vs. Chris Jericho". Wrestling Observer Newsletter. สืบค้นเมื่อ December 19, 2017.
- ↑ Renner, Ethan (January 3, 2018). "NJPW Wrestle Kingdom 12 live results: Okada-Naito, Omega-Jericho". Wrestling Observer Newsletter. สืบค้นเมื่อ January 4, 2018.
- ↑ Brian Campbell (January 22, 2018). "WWE Raw results, recap: New champion, Austin stuns McMahon, Taker, 'Too Sweet'". CBS Sports. CBS. สืบค้นเมื่อ January 23, 2018.
- ↑ {{cite web|url=https://www.cagesideseats.com/2018/5/7/17326752/chris-jericho-rey-mysterio-announced-new-japan-dominion-69-osaka-show
- ↑ Jason Powell (January 4, 2019). "1/4 NJPW Wrestle Kingdom 13 results: Kenny Omega vs. Hiroshi Tanahashi for the IWGP Heavyweight Championship, Chris Jericho vs. Tetsuya Naito for the IWGP Intercontinental Championship, Cody vs. Juice Robinson for the IWGP U.S. Championship". Pro Wrestling Dot Net. สืบค้นเมื่อ January 4, 2019.
- ↑ Brian Campbell (January 8, 2019). "Chris Jericho shocks by signing with All Elite Wrestling as AEW rally hits a home run". CBS Sports. สืบค้นเมื่อ January 8, 2019.
- ↑ Staszewecki, Joseph. "AEW got it right by crowning Chris Jericho champ at All Out". New York Post. สืบค้นเมื่อ September 1, 2019.
- ↑ "AEW Dynamite results, recap, grades: Jon Moxley returns, Jack Hager debuts in first TNT episode". CBS Sports. October 2, 2019. สืบค้นเมื่อ October 3, 2019.
- ↑ Barnett, Jake (October 9, 2019). "10/09 AEW Dynamite TV results: Barnett's live review of Chris Jericho and Sammy Guevara vs. Hangman Page and Dustin Rhodes, Jon Moxley vs. Shawn Spears, The Young Bucks vs. Private Party in an AEW Tag Title tournament match, Riho and Britt Baker vs. Bea Priestly and Emi Sakura". Pro Wrestling Dot Net. สืบค้นเมื่อ October 10, 2019.
- ↑ Barnett, Jake (November 13, 2021). "AEW Full Gear results: Barnett's live review of Kenny Omega vs. Hangman Page for the AEW World Championship, Bryan Danielson vs. Miro in the eliminator tournament finals, Penta and Rey Fenix vs. FTR for the AEW Tag Titles, CM Punk vs. Eddie Kingston, Britt Baker vs. Tay Conti for the AEW Women's Title, Darby Allin vs. MJF". Pro Wrestling Dot Net. สืบค้นเมื่อ November 13, 2021.
- ↑ Sean Reuter (2022-09-21). "A dishonorable Chris Jericho wins the Ring of Honor World title". Cageside Seats. สืบค้นเมื่อ 2022-09-22.
- ↑ "AEW World Championship Title History". All Elite Wrestling. สืบค้นเมื่อ February 27, 2020.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (August 31, 2019). "AEW World Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ 109.0 109.1 Renner, Ethan (January 27, 2021). "AEW Awards report: Winners revealed, Shaq challenges Cody". F4Wonline.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 28, 2021. สืบค้นเมื่อ January 27, 2021.
- ↑ Eck, Kevin (January 2, 2009). "2008 Awards". The Baltimore Sun. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 4, 2021. สืบค้นเมื่อ September 25, 2020.
- ↑ "2023 Class". Canadian Pro-Wrestling Hall of Fame. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 22, 2023. สืบค้นเมื่อ November 29, 2023.
- ↑ "C.R.M.W North American Heavyweight Title". Wrestling-titles.com. สืบค้นเมื่อ January 17, 2019.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (January 29, 1993). "CRMW North American Heavyweight Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "C.R.M.W North American Tag Team Titles". Wrestling-titles.com. สืบค้นเมื่อ January 17, 2019.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (October 17, 1992). "CRMW North American Tag Team Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (January 14, 1994). "CRMW Mid-Heavyweight Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ @LanceStorm (August 10, 2014). "23 yrs ago Aug 10/91 in Sundre, AB: @IAmJericho & I beat Bret Como & Lenny St. Clair to retain #CWC tag team titles. #SuddenImpact" (ทวีต) – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ "Canadian Wrestling Connection". Cagematch. สืบค้นเมื่อ April 6, 2023.
- ↑ "NWA World Middleweight Title". Wrestling-Titles.com.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (December 7, 1993). "NWA World Middleweight Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "ECW World Television Championship". WWE.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (June 22, 1996). "ECW World Television Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "Chris Jericho". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 17, 2016.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (June 7, 1995). "IWA Junior Heavyweight Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "IWGP Intercontinental Title". Wrestling-titles.com. สืบค้นเมื่อ January 17, 2019.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (June 9, 2018). "IWGP Intercontinental Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ 127.0 127.1 Grifol, Ignacio (January 14, 2022). "Pro Wrestling Illustrated anuncia los ganadores de sus PWI Awards 2021". Solowrestling.com. สืบค้นเมื่อ January 15, 2022.
- ↑ "Pro Wrestling Illustrated Decade Awards". Pro Wrestling Illustrated. Vol. 31 no. 2. February 2010.
- ↑ "Pro Wrestling Illustrated Award Winners – Most Hated Wrestler of the Year". Wrestling Information Archive. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 29, 2011. สืบค้นเมื่อ May 5, 2008.
- ↑ "Pro Wrestling Illustrated (PWI) 500 for 2009". Internet Wrestling Database. สืบค้นเมื่อ September 10, 2010.
- ↑ "ROH World Championship History". Cagematch.
- ↑ Herzog, Ken (December 21, 2016). "10 Best WWE Wrestlers of 2016". Rolling Stone. สืบค้นเมื่อ September 30, 2020.
- ↑ Barrassodec, J., "The Top 10 Male Wrestlers of 2019", Sports Illustrated, December 27, 2019.
- ↑ "Cruiserweight Championship". WWE.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (June 28, 1997). "WCW Cruiserweight Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "NWA/WCW World Television Title". Wrestling-Titles.com.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (August 10, 1998). "WCW World Television Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "WWE Championship". WWE.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (December 9, 2001). "Undisputed WWF Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "Chris Jericho's first World Heavyweight Championship reign". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 6, 2016. สืบค้นเมื่อ September 8, 2008.
- ↑ "Chris Jericho's second World Heavyweight Championship reign". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 5, 2016. สืบค้นเมื่อ March 23, 2009.
- ↑ "Chris Jericho's third World Heavyweight Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 19, 2016. สืบค้นเมื่อ December 17, 2019.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (September 7, 2008). "World Heavyweight Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "Chris Jericho's first WCW World Heavyweight Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 19, 2016. สืบค้นเมื่อ December 17, 2019.
- ↑ "Chris Jericho's second WCW World Heavyweight Championship reign". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 6, 2016. สืบค้นเมื่อ December 17, 2019.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (October 21, 2001). "WCW World Heavyweight Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "Intercontinental Championship". WWE.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (December 12, 1999). "WWE Intercontinental Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "United States Championship". WWE. สืบค้นเมื่อ April 4, 2017.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (January 9, 2017). "WWE United States Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "European Championship". WWE.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (April 2, 2000). "WWF European Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "Hardcore Championship". WWE.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (May 28, 2001). "WWF Hardcore Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "Raw Tag Team Championship". WWE.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (June 28, 2009). "WWE Tag Team Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (May 21, 2001). "WWF/World Tag Team Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "World Tag Team Championship". WWE.
- ↑ Passero, Mitch (October 25, 2009). "SmackDown curses Raw". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 12, 2010. สืบค้นเมื่อ October 25, 2009.
- ↑ "Nikki Sixx and Courtney Bingham at the Premiere of "God Bless Ozzy Osbourne (Chris Jericho)". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 26, 2015. สืบค้นเมื่อ April 6, 2015.
- ↑ "WWE Triple Crown Champions". สืบค้นเมื่อ January 17, 2019.
- ↑ "2014 Slammy Award winners". WWE. December 8, 2014. สืบค้นเมื่อ January 17, 2019.
- ↑ "2008 Slammy Awards". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ December 16, 2008.
- ↑ "WWE Flashback: The 2009 Slammy Award winners". Pro Wrestling Dot Net. December 17, 2012. สืบค้นเมื่อ January 17, 2019.
- ↑ "International Junior Heavyweight Title [WAR/Tenryu Project]". Wrestling-Titles.com.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (June 4, 1995). "WAR International Junior Heavyweight Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "WAR International Junior Heavyweight Tag Team Title history". Wrestling-titles.com. สืบค้นเมื่อ March 4, 2009.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (February 23, 1996). "WAR International Junior Heavyweight Tag Team Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ "WWA Tag Team Championship (Mexico)". Solie's Vintage Title Histories. สืบค้นเมื่อ January 17, 2019.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (July 21, 1993). "WWA Tag Team Championship". Cagematch. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ 171.0 171.1 171.2 171.3 171.4 171.5 Meltzer, Dave (January 26, 2011). "Biggest issue of the year: The 2011 Wrestling Observer Newsletter Awards Issue". Wrestling Observer Newsletter. Campbell, CA: 1–40. ISSN 1083-9593.
- ↑ 172.0 172.1 172.2 172.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อWON2019
- ↑ Beltrán, William (August 3, 2010). "Según el Wrestling Observer... ¿Quiénes son los mejores los mejores de la década?". Súper Luchas (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 6, 2010. สืบค้นเมื่อ August 5, 2010.
- ↑ Meltzer, Dave (January 30, 2012). "January 30 Wrestling Observer Newsletter: Gigantic year-end awards issue, best and worst in all categories plus UFC on FX 1, death of Savannah Jack, ratings, tons and tons of news". Wrestling Observer Newsletter. Campbell, CA. ISSN 1083-9593.
- ↑ Meltzer, Dave (October 25, 2010). "Wrestling Observer Hall of Fame". Wrestling Observer Newsletter. Campbell, CA: 19–25. ISSN 1083-9593.
- ↑ "Manitoba Wrestler Inducted into Order of Buffalo Hunt". Legislative Electronic Publications (Press release). Province of Manitoba. July 5, 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 30, 2007. สืบค้นเมื่อ May 11, 2007.
- ↑ (Jericho 2011, pp. 265–266) – "After that, Gary Doer, the premier of Manitoba, awarded me with the Order of the Buffalo Hunt, which was the province's highest honor. It was quite the prestigious prize, which has been given to such dignitaries such as Mother Teresa, Desmond Tutu, Jimmy Carter, Pope John Paul II, and now Chris Jericho." / caption: "Manitoba Premier Gary Doer presents me with the Order of the Buffalo Hunt, along with a tiny bronze buffalo. I'm thinking, 'That's all I get?'"
- ↑ 178.0 178.1 McKendrick, Devon (March 15, 2023). "'I'm a very proud Winnipegger': Chris Jericho honoured by mayor and premier". CTV News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-06-20. สืบค้นเมื่อ June 21, 2023.
- ↑ "WWE champ from Winnipeg arrested in U.S." CTV News. January 28, 2010. สืบค้นเมื่อ November 30, 2023.
แหล่งที่มา
[แก้]- Keith, Scott (2004). Wrestling's One Ring Circus: The Death of the World Wrestling Federation. Citadel Press. ISBN 0-8065-2619-X.
- Schaefer, A.R. (2002). Y2J: Pro Wrestler Chris Jericho (Pro Wrestlers). Capstone High-Interest Books. ISBN 978-0-7368-1313-6.
- Jericho, Chris & Fornatale, Peter Thomas (2007). A Lion's Tale: Around the World in Spandex. New York, New York: Grand Central Publishing. 432pp. ISBN 978-0-446-58006-9.
- Jericho, Chris & Fornatale, Peter Thomas (2011). Undisputed: How to Become the World Champion in 1,372 Easy Steps. New York, New York: Grand Central Publishing. 448pp. ISBN 978-0-446-53815-2.